Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นา , then , นะ, นา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นา, 1123 found, display 351-400
  1. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  2. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  3. กิพฺพิส : (นปุ.) บาป, โทษ, ความผิด. วิ. กโรติ อนิฏฺฐ ผลนฺติ กิพฺพิสํ. กรียตีติ วา กิพฺพิสํ. กรฺ กรเณ, อิพฺพิโส. กิลฺยเต สิถิลี กรียเต อเนนาติ วา กิพฺพิสํ. กลฺ สิถิเล. ลบที่สุดธาตุ.
  4. กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
  5. กิสาโคตมี : (อิต.) พระนางกิสาโคตมี.
  6. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  7. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  8. กุญฺจนา : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนา ด้วย.
  9. กุทฺทาล : (ปุ.) จอบ, เสียม, พลั่ว. วิ. กุ ปฐวี  ทลติ เอเตนาติ กุทฺทาโล. กุปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, โณ. ทรฺ วิทารเณ วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. กุทฺทาล.
  10. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  11. กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
  12. กุลาวก : (นปุ.) รัง, รังนก. วิ. กุจฺฉิตมณฺฑ- วินานาทกํ ลุนาตีติ กุลาวกํ. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, ณฺวุ.
  13. กุลีร กุฬีร กุลิร กุลิรก : (ปุ.) ปู (ปูต่างๆ) วิ. กํ ปฐวึ ลุนาตีติ กุลีโร. กุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อีโร. กุลติ ปตฺถรตีติ วา กุลีโร. กุลฺ สนฺตานพนฺธุสุ, อีโร.
  14. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  15. เกตุ : (ปุ.) ลักษณะ, ธง. วิ. กิตฺติ อปเนติ เอเตนาติ เกตุ. กิตฺ นิวาเส, อุ กิตติ อุทฺธํ คจฺฉ ติ อุปริ นิวสตีติ วา เกตุ. กัจฯ๖๗๑ รูปฯ ๖๖๕ วิ อุทฺธํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ เกตุ. กิคติยํ. ตุ, อิสฺเส. ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. สฺ เกตุ.
  16. เกทารโกฏิ : อิต. ที่สุดแห่งนา, ปลายนาดอน
  17. เกทารปาลิ : (อิต.) เส้นเขตนา.
  18. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  19. โกนาคมน : (ปุ.) พระโกนาคมน์ พระนามของ พระพุทธเจ้า องค์ที่ ๒ในพระเจ้า ๕ พระองค์.
  20. โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
  21. โกลวลฺลี : (อิต.) ดีปลีใหญ่, ช้าพลู. วิ.โกลาการา ตนฺนามิกา วา วลฺลี โกลวลฺลี.
  22. ขฏ : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม (รากมี กลิ่นหอมใช้ทำยาไทย), กร, มือ, กระพุ่ม มือ, ความปราถนา. ขฏฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ขฏ.
  23. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  24. ขร : (วิ.) เฉียบแหลม, กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, หยาบ, ขรุขระ. ขรฺ วินาเส, อ.
  25. ขรณ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความสูญ, ความฉิบหาย. ขรฺ ขยวินาเสสุ, ยุ.
  26. ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
  27. ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
  28. เขตฺตกมฺม : นป. เกษตรกรรม; กสิกรรม, การทำนา, การทำสวน
  29. เขตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำซึ่งที่ดิน, เกษตรกร (ผู้ประกอบการเกษตร มีทำไร่ทำนา เป็นต้น). ส. เกษตฺรกร.
  30. เขตฺตโคป : ป. ผู้เฝ้านา, ผู้รักษาสวน
  31. เขตฺตวตฺถุ : (นปุ.) ที่นาและที่เป็นที่อยู่.
  32. เขตฺตโสธน : นป. การแผ้วถางนาหรือสวน, การบุกเบิกนาหรือสวน
  33. เขตฺตาชีว : ป. ผู้มีอาชีพทางทำนาหรือทำสวน, เกษตรกร, กสิกร
  34. เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
  35. เขตฺตูปม : ค. ซึ่งอุปมาด้วยนาหรือสวน, เปรียบกับนาหรือสวน
  36. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  37. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  38. คมิก : (วิ.) ผู้ปราถนาเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ อิจฺฉตีติ คมิโก. ผู้ควรเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ ภพฺโพติ คมฺโก. ผู้จะไป ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คมิโก. อิก ปัจ. รูปฯ ๕๙๕.
  39. คล : (ปุ.) คอ, ลำคอ (เครื่องกลืนกิน) วิ. คลนฺติ อเนนาติ คโล. คลฺ อทเน, อ. คิลติ อเนนาติ วา คโล. คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อ, อิสฺส อตฺตํ.
  40. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  41. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  42. คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
  43. เคธ : (วิ.) กำหนัด, อยาก, ปราถนา, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, รัก, รักใคร่. คิธฺ อภิกํขายํ, โณ.
  44. เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
  45. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  46. โครกฺขา : อิต. การเลี้ยงโค, การรักษาแผ่นดิน, การรักษานา
  47. ฆาน : (นปุ.) จมูก วิ. ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ ฆานํ. ฆายนฺติ อเนนาติ วา ฆานํ. ฆา คนฺโธปาทาเน, ยุ.
  48. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  49. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  50. จรณ : (ปุ. นปุ.) ตีน, เท้า. วิ. จรติ เอเตนาติ จรณํ. จรฺ คติยํ, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1123

(0.0737 sec)