Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นา , then , นะ, นา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นา, 1123 found, display 451-500
  1. นา : (ปุ.) ประเทศไม่มีทุกข์, แดนไม่มีทุกข์, นากะ ชื่อสวรรค์ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์. วิ. นตฺถิ อกํ ทุกขํ เอตฺถาติ นาโก. นตฺถิ+อก ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ลบ ตฺถิ. ส. นาก.
  2. นา : (วิ.) ผู้เลิศ, ผู้ประเสริฐ, ผู้สูงสุด. วิ. นตฺถิ อคฺโค ยสฺมา โส นาโค. ลบ ตฺถิ และ คฺ.
  3. นาคปาส : (ปุ.) บ่วงที่เป็นงู, นาคบาส ชื่อ อาวุธของท้าววรุณ. ส. นาคปาศ.
  4. นาคมาลิกา : (อิต.) ไม้กากะทิง, กถินพิมาน. วิ. นาคานํ มาลา, สญชาตา ยตฺร สา นาคมาลิกา.
  5. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  6. นาควีฏ : (ปุ.) คราด ชื่อเครื่องมือ ทำเป็นซี่ๆ มีด้ามสำหรับถือ สำหรับชักหรือลาก ขี้หญ้าหรือหยากเยื่อ คราดขนาดใหญ่ เทียมวัวหรือควาย ๑ คู่ สำหรับทำไร่ ทำนา.
  7. นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
  8. นา : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  9. นา : (นปุ.) ความน้อนไป, ความน้อมไปใน อารมณ์ทั้ง ๖, ชื่อ, นาม คือคำชนิดหนึ่ง ในไวยากรณ์ สำหรับเรียก คน สัตว์ ที่ และสิ่งของต่างๆ หรือชื่อของสิ่งที่มิใช่รูป คือจิตและเจตสิก เรียกว่านามธรรมหรือ อรูปธรรม ซึ่งเป็นคู่กับ รูปธรรม. วิ. นมฺยเต อตฺถยเต อตฺถยสฺวิติ นามํ. นาเมหิ นามยตีติ วา นามํ. ส. นามนฺ.
  10. นามรูป : (นปุ.) นามและรูป, นามรูป. วิ. นามญจ รูปญจ รูปญจ นามรูปํ.
  11. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  12. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  13. นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
  14. นาสา : (อิต.) จมูก, งวง (จมูกของช้างที่ ยื่นออกไป). วิ. นาสนฺติ อพฺยตฺตสทฺทํ กโรนฺติ เอตายาติ นาสา. นาสุ สทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. นสา, นาสา.
  15. นาฬิก : (ปุ.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  16. นาฬิกา : (อิต.) แปลเหมือน นาลิ. นาฬิ. ส. นาฑิกา ว่า นาฬิกา ชื่อสิ่งที่บอก เวลา ทุ่ม โมง.
  17. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  18. นิคล นิคฬ : (ปุ. นปุ.) เครื่องผูกเท้าช้างวิ.นิคลติพนฺธติอเนนาตินิคโลนิคโฬวา.นิปุพฺโพ,คลฺเสจเน,อ.
  19. นิตฺถุนาติ : ก. ดู นิตฺถนาติ
  20. นิทฺธมน : นป., นิทฺธมนา อิต. การขจัดออก, การระบายออก, การทดน้ำ; คลอง, เหมือง
  21. นินนาทิ : (วิ.) (เสียง) มีกังวาน วิ. นินฺนาโท เอตฺถ อตฺถีติ นินฺนาทิ. อิ ปัจ.
  22. นินา : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นาโถ นินาโท. ส.นินาท. หมายถึงเสียงทั่วไป.
  23. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  24. เนตฺติก : ค. ผู้ทดน้ำ, ผู้ทดน้ำเข้านา
  25. ปญฺจนที : อิต. แม่น้ำห้าสาย (คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, สรภู, มหี)
  26. ปญฺจวคฺคิย : ค. มีพวกห้า หมายถึงภิกษุห้ารูปเหล่านี้คือ อัญญาโกณฑัญญะ, วัปปะ, ภัททิยะ, มหานามะ, อัสสชิ
  27. ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
  28. ปโทล : (ปุ.) กระดอม, ขี้กา, เทพชาลี. วิ. ปํ สีสโรคาทิกํ วา ทวติ ทุโนติ วา หึสติ วินาเสตีติ ปโทโล. ปปุพฺโพ, ทุ หึสายํ, โล, อโล วา.
  29. ปภา : (อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงไฟ, ความรุ่งเรือง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ความรุ่งเรืองโดยประการต่าง ๆ วิ. นานาปกาเรน ภาตีติ ปภา. ความรุ่งเรืองโดยประการ วิ. ปกาเรน ภาติ ทิพฺพตีติ ปภา. กัจฯ ๖๓๙ และอภิฯ รูปฯ ๕๖๙ วิ. ปภาตีติ ปภา. อภิฯ กัจฯ และ รูปฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  30. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  31. ปริเทว : ป., (ปริเทวนา อิต.) การร้องไห้, การคร่ำครวญ
  32. ปานมณฺฑล : นป., ปานาคาร ป., นป. ร้านเครื่องดื่ม, โรงดื่ม
  33. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  34. ปุม : (ปุ.) ชาย, คน, คนผู้ชาย, บุรุษ. วิ. ปุนาตีติ ปุมา. ปุ ปวเน, โม.
  35. ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
  36. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  37. ผิย : (ปุ.) พาย, แจว, กรรเชียง. วิ. ผิยติ นาวา เอเตนาติ ผิโย. ผิ คมเน. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์. หรือตั้ง ผา วุฑฺฒิยํ, อิโย. แปลง ผิ เป็น ปิ เป็น ปิย บ้าง.
  38. พปฺป : (ปุ.) น้ำตา วิ. วปติ พหิ หทยคตโสเกนาติ พปฺโป. วปฺ นิกฺขมเน, โป, วสฺส โพ.
  39. พฺยคฆีนส : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. สตฺตานํ หึสนโต พฺยคฺโฆ วิย พฺยคฺฆี, สตฺเตนาเสตีตินโส. พฺยคิฆี เอว นโส พฺยคฺฆีนโส.
  40. พฺยวาย : (ปุ.) การร่วมสังวาส, เมถุน. วิ. อยฺยติพล เมเต-นาติ วฺยวาโย พฺยวาโย วา. วฺยยฺขเย, โณ, มชฺเฌ วฺอาคโม. อถวา, วิคโต อโย วุทฺธิ ยสฺมา โส พฺยวาโย.
  41. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  42. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  43. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  44. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  45. พฺรหฺมทตฺติย : (วิ.) อันพรหมใช้แล้ว วิ. พฺรหฺมุนา ทินฺโน พฺรหฺมทตฺติโย. ทินฺนสทฺท- สฺส ทตฺติยภาโว.
  46. พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
  47. พลิปุฏฺฐ : (ปุ.) กา, นกกา. วิ. พลินา ปุฏฺโฐ ภโต แปลง ตฺ เป็น ฏฺฐ ลบ สฺ หรือแปลง ต กับ สฺ เป็น ฏฺฐ.
  48. พหุลา : (อิต.) กระวาน, กระวานใหญ่. วิ. พหโว อตฺเถ ลาตีติ พหุลา. พหุโรเค ลุนาตีติ วา พหุลา, ลุ เฉทเน, อ.
  49. พาณ : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกปืน, เสียง. วิ. วณฺยเต อเนนาติ พาโณ. วณฺ สทฺเท, โณ. แปลง ว เป็น พ.
  50. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1123

(0.0778 sec)