Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 1051-1100
  1. อาโรหณอาโรหนอาโรหินิ : (นปุ.) พะอง, บันได, บันไดก่อด้วยอิฐ.วิ.อารุยฺหเต เยน ตํอาโรหนํ.อาปุพฺโพ, รุหฺชนเน, ยุ.
  2. อาโรหา : อิต. หญิงงาม, ความถึงพร้อมด้วยทรวดทรง
  3. อาลยสมุคฺฆาต : (ปุ.) ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่ง อาลัย, ความหมดกังวล, ความหมด อาลัย, ความหมดตัณหา.
  4. อาวิก : ป., ค. เสื้อที่ทำด้วยขนแกะ, ผ้าสักหลาด
  5. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  6. อาสาฬฺหปุณฺณมีทิวส : (ปุ. นปุ.) วันคือดิถี มีพระจันทร์เต็มดวงอันประกอบด้วย อาสาฬหฤกษ์.
  7. อาสิ อาสี : (อิต.) ความหวังด้วยวัตถุ (เรื่อง) อัน...ปรารถนาแล้ว. อิฏฺฐสฺส วตฺถุโน อาสึสนา. ความหวังดี, การให้พร, อาเศียร. ส. อาศิสฺ แปลง สฺ เป็น รฺ เป็น อาศิร.
  8. อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
  9. อิณปริโภค : (ปุ.) การบริโภคด้วยความเป็น หนี้.
  10. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  11. อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
  12. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  13. อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.
  14. อิติ อว : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
  15. อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
  16. อิทฺธามย : (วิ.) เกิดแล้วด้วยฤทธิ์, เกิดแล้วแต่ ฤทธิ์, สำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์, สำเร็จแล้วแต่ ฤทธิ์. วิ. อิทฺธิยา นิพฺพตฺตํ นิปฺผนฺนํ วา อิทฺธิมยํ. มย ปัจ. ปกติตัท.
  17. อิทฺธิมยปตฺตจีวรธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งบาตร และจีวรอันสำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์.
  18. อิสิปพฺพช อิสิปพฺพชฺช : (วิ.) บวชด้วยความเป็นฤาษี, บวชเป็นฤาษี.
  19. อุกฺกณฺฐิต : (วิ.) ผู้เป็นไปกับด้วยคอในเบื้องบน. อุปริ+กณฺฐ+อิต (อิ ธาตุ ต ปัจ.) กฺ สังโยค. ดูกิริยากิตก์ด้วย. อุกฺกนฺติ
  20. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  21. อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
  22. อุกฺขิตฺตก : ค. ผู้ถูกสงฆ์ยกวัตร, ผู้ถูกลงโทษด้วยการยกออกเสียจากคณะ คือไม่ให้สมโภคร่วมกับสงฆ์
  23. อุกฺเขปก : ก. ผู้ยกวัตร, ผู้ลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้มีอธิกรณ์ออกจากสงฆ์
  24. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  25. อุกฺเขปนียกมฺม : นป. อุกเขปนียกรรม, กรรมคือการที่สงฆ์พึงลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ออกจากคณะ
  26. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  27. อุตฺตริมนุสฺสธมฺมสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบท อันบัณฑิตกำหนดแล้ว ด้วยธรรมของ มนุษย์ผู้ยิ่ง, ฯลฯ.
  28. อุทกปสต : (ปุ.) ซองมืออันเต็มแล้วด้วยน้ำ.
  29. อุทกสินฺน : (วิ.) นึ่งด้วยน้ำ. สิทฺ ปาเก, โต, ตสฺส อินฺโน, ทฺโลโป.
  30. อุทกสุทฺธิก : นป. การล้างด้วยน้ำ
  31. อุทกุกฺเขปสีมา : (อิต.) อุทกุกเขปสีมา สีมา กำหนดด้วยการวักน้ำสาดโดยรอบด้วยมือ ของคนปานกลาง.
  32. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  33. อุทปาทป : (ปุ.) ชีวะที่ดื่มน้ำด้วยราก, ต้นไม้.
  34. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  35. อุทานคาถา : (อิต.) คำที่เปล่งขึ้นด้วยความเบิกบานใจ.
  36. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  37. อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
  38. อุปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งด้วยใจ, การพินิจ, การพิจารณา, ความเพ่งด้วยใจ, ฯลฯ. อุป นิ ปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  39. อุปนิสฺสาย : ก. วิ. เพราะอาศัย, เนื่องอยู่ด้วย
  40. อุปฺปลินี : อิต. สระที่เต็มด้วยดอกบัว, สระบัว
  41. อุปฺปลี : ค. มีบัวมาก, เต็มด้วยดอกบัว
  42. อุปวาเสติ : ก. อบ, รม (ด้วยกลิ่น)
  43. อุปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ชอบด้วย อุบาย, อุปาย+อิก ปัจ. ควร, สมควร, ชอบ. อิก ปัจ. สกัด.
  44. อุรค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยอก, งู, นาค, นาคราช. วิ. อุเรน คจฺฉตีติ อุรโค. อุรปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. ส. อุรค อุรงฺค อุรงฺคม.
  45. อุสฺสนฺน : ค. เต็มเปี่ยม, หนาขึ้น, สูงขึ้น; เดียรดาษ; ทาด้วย; ขยายออก, แผ่ออก
  46. อุสฺสุต : ค. อันทำให้แปดเปื้อน, อันเต็มไปด้วยราคะ
  47. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  48. อุฬูกปกฺขิก : ค. มีเครื่องประดับทำด้วยขนปีกนกฮูก
  49. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  50. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1126

(0.0607 sec)