Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 301-350
  1. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  2. ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
  3. ชมฺภ ชมฺภีร ชมฺภุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, ภนฺโต (ลง ภ อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺภฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺภีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  4. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  5. ชลาพุช : (วิ.) เถิดด้วยน้ำระคนด้วยน้ำ, ชล+อมฺ พุ+ช ลบ อมฺทีฆะ อ ที่ ล เป็น อา.
  6. ชวสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยเชาวน์หรือความว่องไว, ผู้มีความกระตือรือร้น
  7. ชาติวาท : ป. การสนทนาถึงเรื่องชาติ, การถกกันด้วยเรื่องเทือกเถาเหล่ากอ
  8. ชาติสมฺปนฺน : ค. ผู้ถึงพร้อมด้วยชาติ, ผู้เกิดมาดี, ผู้มีตระกูล
  9. ชาลากุล : ค. ซึ่งมีเปลวไฟแวดล้อม, ซึ่งแวดล้อมด้วยเปลวไฟ
  10. ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
  11. ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
  12. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  13. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  14. ฌานสหคต : ค. อันสหรคตด้วยฌาน, อันประกอบด้วยฌาน
  15. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  16. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  17. ญตฺติจตุตฺถกมฺมอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบทด้วยกรรมวาจามีญัตติเป็นที่สี่.
  18. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  19. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  20. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  21. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  22. ญาณวิปฺปยุตฺต : (วิ.) (จิต) ไม่ประกอบด้วย ปัญญา, ปราศจากปัญญา.
  23. ญาณสมฺปยุตฺต : (วิ.) ประกอบด้วยปัญญา.
  24. ญาณิก : ค. ผู้มีญาณ, ผู้ประกอบด้วยญาณ
  25. ญาณูปปนฺน : ค. ผู้เข้าถึงญาณ, ผู้บรรลุญาณ, ผู้ประกอบด้วยความรู้
  26. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  27. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  28. ญาติสิเนห : ป. ความเสน่หาในญาติ, ความรักญาติ
  29. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  30. โฏฏมฺพร : นป. ผ้าอย่างดี, ผ้าทอด้วยขนสัตว์มีเนื้อละเอียด
  31. ฐิติก : ค. ผู้ยืนอยู่, ผู้ดำรงอยู่, ผู้เนื่องอยู่ด้วย
  32. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  33. ตจปริโยนทฺธ : ค. ซึ่งหุ้มห่อด้วยหนังหรือเปลือกไม้
  34. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  35. ตณฺฑุลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยข้าวสาร (คือการเอาข้าวสารเผาไฟบูชายัญ)
  36. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  37. ตณฺหาธินิเวส : ค. อันเต็มด้วยตัณหา
  38. ตณฺหาลุก : ค. ผู้โลภหรืออยากได้ด้วยตัณหา
  39. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  40. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  41. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  42. ตทงฺคปหาน : (นปุ.) การละด้วยองค์นั้น ๆ วิ. เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละกิเลสด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น วิ. ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละ กิเลสด้วยสามารถแห่งองค์นั้น ๆ ของฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น. วิ. ปฐมฌานาทิสฺส ตสฺส ตสฺส องฺคสฺส วเสน กิเลสสฺส ปหานํ. การละชั่วคราว.
  43. ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
  44. ตทงฺควิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยองค์ นั้น ๆ, ฯลฯ คำแปลและ วิ. เลียนคำ ตทงฺคปหาน.
  45. ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
  46. ตลฆาตก : นป. การประหารด้วยฝ่ามือ, การตบ
  47. ตลสตฺติกสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบทอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยอันเงือดเงื้อซึ่ง หอกคือฝ่ามือ.
  48. ตสฺสปาปิยสิกากมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุรูปนั้นผู้เป็นบาป (ปกปิด ความประพฤติชั่วของตนด้วยการพูดเท็จ).
  49. ตารกิต : (วิ.) มีดาวเกิดแล้ว, เกลื่อนกล่นแล้ว ด้วยดาว. วิ. ตารกา สญฺชาตา อสฺส ตารกิตํ ( คคนํ ). ตารกา+อิต ปัจ. โมค ฯ ณาทิ กัณฑ์ ๔๕.
  50. ตารามณิวิตาน : นป. เพดานที่ประดับด้วยดาวซึ่งทำด้วยแก้ว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1126

(0.0708 sec)