Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 501-550
  1. นขทารณ : (ปุ.) นกผู้มีเล็บเป็นเครื่องทำลาย สัตว์อื่น, นกผู้ทำลายสัตว์อื่นด้วยเล็บ, เหยี่ยว ชื่อนกจำพวกหนึ่งมีหลายชนิด มีเล็บยาวและคม โฉบสัตว์ที่เล็กกว่ากิน เป็นอาหาร.
  2. นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
  3. นขเลขา : (อิต.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, รอยเล็บ, การเขียนที่เล็บ, การทาเล็บ.
  4. นครูปม : ค. อันเปรียบด้วยนคร, อุปมาเหมือนนคร
  5. นงฺคลผาลาทิอุปกรณปูร : (วิ.) อันเต็มด้วย อุปกรณ์มีไถและผาล เป็นต้น.
  6. นตฺตก : (นปุ.) ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. นตฺถิ+อนฺต ลบ ตฺถิ แปลง นฺ เป็น ตฺ ก สกัด ดู นนฺตกด้วย.
  7. นทฺยมฺพุชีวน : (ปุ.) ประเทศ (ที่) อันเป็นที่อยู่ ด้วยน้ำอันไหลมาจากแม่น้ำ, ที่อันเป็น อยู่ด้วยอาศัยน้ำมาแต่แม่น้ำ. วิ. นทิยา อาภเตน อมฺพุนา ชีวนฺติ เอตฺถาติ นทฺยมฺพุชีวโน.
  8. นนฺทิภว : ป. ความมีอยู่, ความดำรงแห่งความเพลิน, ความเพียบพร้อมไปด้วยความเพลิดเพลิน
  9. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  10. นนฺทิสโยชน : นป. การผูกมัดด้วยความอยาก
  11. นนิกาม : ค. ไม่เหมาะสม, ไม่ลงรอยกัน, ไม่ยินดีด้วย
  12. นมตก : นป. ชิ้นผ้า (ที่ตัดด้วยศัสตรา)
  13. นรวร : (ปุ.) นรวร พระนามของพระพุทธเจ้า ทั้งปวง, คนประเสริฐ (หมายเอาเทวดา ทั้งปวงด้วย).
  14. นลทณฺฑก : นป. ก้านไม้อ้อ; หลาวที่ทำด้วยไม้อ้อ
  15. นลมย : ค. ซึ่งกระทำด้วยไม้อ้อ, สำเร็จด้วยไม้อ้อ
  16. นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
  17. นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  18. นวสิวถิกาปพฺพ : (นปุ.) หัวข้อว่าด้วยป่าช้า เก้า, หัวข้อยิ่งด้วยป่าช้าเก้าหัวข้อ.
  19. นฬาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันบุคคลมุงแล้วและบังแล้วด้วยไม้อ้อวิ.นเฬหิฉนฺน-ปริฉนฺนาอคารานฬาคารา.
  20. นฬินชลชากิณฺณ : (วิ.) เกลื่อนกล่นแล้วด้วย ดอกบัวหลวง.
  21. นาราจวลย : ป., นป. กำไลหรือปลอกคอทำด้วยเหล็ก
  22. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  23. นาฬิเกริก : ค. อันเนื่องด้วยต้นมะพร้าว, ซึ่งมีต้นมะพร้าว
  24. นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
  25. นิกุญฺช : ป., นป. หุบเขา, ซอกเขา, กอไม้, เถาวัลย์, ที่ปกคลุมด้วยไม้เถา
  26. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  27. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  28. นิทฺทาราม : ค. ผู้ยินดีด้วยการนอน, ผู้พอใจในการนอน
  29. นิททาลุ : ค. ผู้มากด้วยการนอน, ผู้เห็นแก่นอน, ผู้นอนขี้เซา
  30. นิธานค : (วิ.) (ทรัพย์) อันถึงแล้วด้วยสามารถ แห่งอันเก็บ วิ. นิธานวเสน คตํ ปวตฺตํ นิธานคํ.
  31. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  32. นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
  33. นิยสกมฺม : (นปุ.) นิยศกรรม นิยสกัม คือ การถอดยศ ทำด้วยวิธีญัตติจตุถกรรม. ไตร. ๖.
  34. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  35. นิวาปปุฏฐ : ค. อัน...เลี้ยงดูด้วยผักหรือหญ้า
  36. ปญฺจงฺคุลิก : ค. ประกอบด้วยนิ้วทั้งห้า
  37. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  38. ปญฺญาวุฑฺฒิ : อิต. ความเจริญด้วยปัญญา
  39. ปฏฏ : นป., ค. แผ่น, ผืน, ท่อน; แผ่นผ้า, ผ้าไหม, ผ้าโพกหัว, ผ้าพันแผล; ซึ่งทำด้วยไหม
  40. ปฏฺฏก : นป., ค. แผ่นผ้า, ท่อน, ชิ้นยาว, ผ้าพันแผล; ซึ่งทำด้วยแผ่นผ้า
  41. ปฏลิกา : อิต. เครื่องปกปิดคลุมด้วยดอกไม้
  42. ปฏินนฺทติ : ก. ยินดีเฉพาะ, บันเทิง, ทักทายตอบ, รับด้วยความยินดี
  43. ปฏิพนฺธ : ค. ซึ่งผูกพัน, ซึ่งติดอยู่, อันเกี่ยวข้อง, อันเนื่องด้วย
  44. ปฏิย : นป. ผ้าลาดสีขาวทำด้วยขนสัตว์
  45. ปฏิสารณ : นป. การให้หวนระลึกถึงความผิด, การให้ยอมรับผิด, การให้แก้ความผิดด้วยการขอคืนดี
  46. ปฏิสารณิยกมฺม : นป. ปฏิสารณียกรรม, กรรมเนื่องด้วยการลงโทษพระภิกษุผู้ทำความผิดต่อคฤหัสถ์โดยให้ไปขอขมาเขา
  47. ปฏิสารี : ค. ผู้แล่นเข้าไปหา, ผู้ถือ, ผู้ยึดถือ (โคตร); ผู้รังเกียจกัน (ด้วยโคตร)
  48. ปฐวีสม : ค. เสมอด้วยแผ่นดิน, ซึ่งเปรียบเหมือนแผ่นดิน
  49. ปณฺณกุฏิ : อิต. บรรณกุฎี, กระท่อมมุงบังด้วยใบไม้
  50. ปณฺณจฺฉตฺต, - ตก : นป. ร่มทำด้วยใบไม้
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1126

(0.0686 sec)