Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 801-850
  1. สมาปน : (นปุ.) การชักชวนให้ถือเอาด้วยดี, การชักชวน, สํ อา ปุพฺโพ, ทยฺ อาทาเน, ยุ, ยสฺส โป.
  2. สมิทฺธิ : (นปุ.) ความมั่งคั่ง, ความสมบูรณ์, ความสำเร็จด้วยดี, ความสัมฤทธิ์, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฺฒิยํ, โต, ติ วา.
  3. สมุจฺเฉท : (ปุ.) การตัดขึ้นพร้อม, การตัดขึ้นด้วยดี, การตัดขาด, ความตัดขาด.
  4. สมุจฺเฉทปหาน : (นปุ.) การละด้วยความสามารถแห่งอันตัดขาด, สมุจเฉทปหาน คือ การละ(ตัด)กิเลสได้เด็ดขาด เป็นการสละกิเลสด้วยอริยมรรคของพระอริยบุคคล.
  5. สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
  6. สมุปฺปาท : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้นด้วยดี, การเกิดสมบูรณ์, ความเกิดขึ้นพร้อม, ฯลฯ. สํ อุ ปุพฺโพ, ปท. คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค.
  7. สมุลฺลปติ : ก. สนทนาด้วยดี
  8. สย : (อัพ. นิบาต) เอง, ด้วยตนเอง, โดยตนเอง, อันตนเอง. ใช้เป็นประธานก็มี แปลว่า อ. ตนเอง ที่เป็นราชาศัพท์ แปลว่า อ. พระองค์ หรือ อ. พระองค์เอง.
  9. สยกต : (วิ.) อันตนเองกระทำแล้ว, กระทำแล้วด้วยตนเอง. วิ. สยํ กตํ สยํกตํ. ต. ตัป.
  10. สยถุ : (วิ.) เกิดแล้วด้วยการนอน, เกิดด้วยการนอน. วิ. สเยน นิพฺพตฺโต สยถุ. สี สยเน, ถุ.
  11. สยมฺภู : (ปุ.) พระผู้เป็นเอง ( เป็นด้วยพระองค์เอง), พระสยัมภู พระสยมภู (สะหยมภู) พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. สยํ อภวีติ สยมฺภู. อภิฯ. สย เมว สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวตีติสยมฺภู. ฎีกาอภิฯ สยํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
  12. สยมฺภูต : (วิ.) เป็นเองแล้ว, ตรัสรู้เองแล้ว, ตรัสรู้แล้วด้วยพระองค์เอง.
  13. สฺยาม : (ปุ.) ประเทศเจริญ, ประเทศรุ่งเรือง(ด้วยความดี), สยาม(สะหยาม), ประเทศสยาม. ปัจจุบันคือ ประเทศไทย (เปลี่ยนเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓). สุ วุทฺธิยํ, อามปจฺจโย. แปลง อุ เป็น ย.
  14. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  15. สรส : ค. มีรส, เป็นไปกับด้วยรส
  16. สลขาริก สสงฺขาริก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสังขาร.
  17. สลฺลกฺขณ : (นปุ.) การกำหนดดี, การกำหนดด้วยดี, ลักษณะดี. เป็น สลฺลขณา สลฺลกฺขนา (อิต.) บ้าง.
  18. สลฺลาป : (ปุ.) การกล่าวกับ, การกล่าวด้วยดี, การกล่าวด้วยดีต่อกัน, การพูดจากัน, การสนทนา, การเจรจาปราศรัย, คำอ่อนหวาน. วิโรธรหิตํ วจนํ สลฺลาโป. สํปุพฺโพ, ลปฺ วาเ กฺย, โณ.
  19. สวตฺตนิก : ค. มีความเกี่ยวข้องด้วย, มีความเป็นไปด้วย
  20. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  21. สวิญฺญาณก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยวิญาณ, มีวิญญาณ, มีใจ, มีใจครอง.
  22. สวิส : (วิ.) เป็นไปด้วยยาพิษ ซาบด้วยยาพิษ.
  23. สสทฺธ : (วิ.) เป็นไปด้วยสัทธา, มีศรัทธา.
  24. สเสน : ค. พร้อมด้วยทหาร
  25. สห : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความยินดี, เป็นไปกับด้วยความร่าเริง.
  26. สหกร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยมือ
  27. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  28. สหจร : (ปุ.) คนเที่ยวร่วมกัน, คนเที่ยวไปด้วยกัน, คนไปด้วยกัน (ผู้ร่วมทาง), เพื่อน, สหาย, การไปร่วมกัน, การเที่ยวไปร่วมกัน, ฯลฯ. ส. สหจร.
  29. สหาย : (วิ.) ไปตาม, ไปกับ, ไปร่วม, ไปร่วมกัน, ไปด้วยกัน, ติดตาม.
  30. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  31. สหิต : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์เกื้อกูล. สห+หิต.
  32. สเหตุ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเหตุ. วิ. สห เหตุนา โย วตฺตตีติ สเหตุ. แปลง สห เป็น ส ลง ก สกัด เป็นสเหตุก และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  33. สากฏิก : ป. ผู้ไปด้วยเกวียน
  34. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.
  35. สาตุถ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอรรถ, พร้อมด้วยอรรถ, มีอรรถ, เป็นไปกับด้วยประโยชน์, ฯลฯ.
  36. สาทร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความเคารพ, เป็นไปกับด้วยความเอื้อเฟื้อ, เป็นไปกับด้วยความเอาใจใส่.
  37. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  38. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  39. สาม : (อัพ. นิบาต) เอง, โดยลำพัง, โดยตนเอง, ด้วยตนเอง. อภิฯ ลงใน สยตฺถ รูปฯ ลงในตติยตฺถ.
  40. สามจฺจ : ค. ซึ่งพร้อมเพรียงกัน, ซึ่งร่วมด้วยเพื่อน
  41. สามิส : ค. ประกอบด้วยเครื่องล่อ
  42. สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  43. สามุกฺกสึกธมฺม : (ปุ.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  44. สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
  45. สาวชฺช : (วิ.) อันเป็นไปกับด้วยโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, อันเป็นไปกับด้วยโทษ, มีโทษ. สห+วชฺช แปลง สห เป็น สา.
  46. สาหตฺถิก : ค. ทำด้วยมือของตนเอง
  47. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  48. สาฬสฺถิก : (วิ.) ประกอบด้วยมือของตน, เกิดแล้วด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน. สหตฺถ+ณิก ปัจ.
  49. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  50. สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | [801-850] | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1126

(0.0762 sec)