Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ด้วยเสน่หา, เสน่หา, ด้วย , then ด้วย, ดวยสนหา, ด้วยเสน่หา, สนหา, เสน่หา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ด้วยเสน่หา, 1126 found, display 851-900
  1. สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  2. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  3. สิพฺพนี สิพฺพินี : (อิต.) ธรรมชาติอันร้อยรัด, ธรรมชาติอันรัดรึง (ผูกแน่น), ธรรมชาติเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ตัณหาเครื่องร้อยรัด, ฯลฯ, ธรรมชาตผูกเย็บ (ผูก) ภพเป็นต้น ไว้ด้วยภพเป็นต้น, ตัณหา. วิ. ภวาทีหิ ภวาทโย สิพฺพตีติ สิพฺพนี สิพฺพินี วา. อี อินี อิต.
  4. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  5. สิลามย : ค. ทำด้วยหิน
  6. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  7. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  8. สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
  9. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  10. สุเขธิต : (วิ.) เจริญด้วยความสุขวิ.สุเขนเอธตีติ สุเขธิโต. สุขปุพฺโพ, เอธฺ วทฺธเน, โต, อิอาคโม. แปลง เอ เป็น โอ เป็น สุโขธิโตบ้าง.
  11. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  12. สุจฺฉนฺนเคหสทิส สุฉนฺนเคหสทิส : (วิ.) อันเช่นกับด้วยเรือนอันบุคคลมุงดีแล้ว.
  13. สุจิต : (วิ.) สั่งสมด้วยดี, สะสมด้วยดี, ก่อด้วยดี. สุฏฐปุพฺโพ, จิ จเย, โต.
  14. สุฏฐ : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง. เป็น อติสยัตถวาจกนิบาต. ด้วยดี, ดีละ. เป็น ปสังสัตถวาจกนิบาต.
  15. สุฏฐสมาหิต : (วิ.) ตั้งมั่นแล้วด้วยดี, มีจิตตั้งมั่นแล้วด้วยดี.
  16. สุฏฺฐุ : อ. ด้วยดี
  17. สุตชน : (ปุ.) ชนเกิดแต่กษัตริย์กับด้วยนางพรมหมณีชื่อสุตะ.
  18. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  19. สุทฺทขตฺตาช : (ปุ.) บุตรเกิดแต่นางกษัตริย์ กับด้วยศูทร วิ. สุทฺเทน ขตฺตาย ชาโต ปุตฺโต สุทฺทขตฺตาโธ.
  20. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  21. สุทุตฺตร : (วิ.) อัน...ข้ามได้ด้วยยากยิ่ง, อันบุคคลข้ามได้ด้วยความยากยิ่ง, ข้ามไปได้ด้วยความยากยิ่ง.
  22. สุทุทฺส : (วิ.) อัน...เห็นได้ด้วยความยากยิ่ง.
  23. สุปนฺถ สุปถ : (ปุ.) ทางที่สัญจรไปได้ด้วยดี, ทางดี.
  24. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  25. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  26. สุม : (วิ.) รู้ด้วยดี, รู้ดี. สุ+มนฺ+กวปัจ.
  27. สุวณฺณปฎ : (ปุ. นปุ.) แผ่นสำเร็จแล้วด้วยทอง, แผ่นแห่งทอง, แผ่นทอง, สุพรรณบัฎ. สุพรรณบัฎ ไทยใช้เรียกแผ่นทองคำที่จารึกราชทินนามชั้นสูงหรือจารึกพระราชสาสน์. ส. สุวรฺณปฎ.
  28. สุวณฺณรูป สุวณฺณรูปก : (นปุ.) รูปทำด้วยทอง, รูปเปรียบทำด้วยทอง.
  29. สุวณฺณลงฺการ : (วิ.) ผู้มีเครื่องประดับอันบุคคลทำแล้วด้วยทอง, ผู้มีเครื่องประดับเป็นวิการแห่งทอง. ฉ. พหุพ.
  30. สุวณฺณสรก : (ปุ.) ขันทำด้วยทอง, ขันทอง.
  31. สุวิมล : (วิ.) มีมลทินไปปราศแล้วด้วยดี, ใสดี, ผ่องใส.
  32. สุสฺสูส : (วิ.) ฟังด้วยดี, เชื่อฟัง, เชื่อถ้อยฟังคำ. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สุ สวเน, โส, ทีโฆ, สฺสํโยโค.
  33. สุสฺสูสา : (อิต.) การฟังด้วยดี, การตั้งใจฟัง, การบำเรอ, การบำรุง, การปฏิบัติ, การรับใช้.
  34. สุหิต : (วิ.) มีประโยชน์เกื้อกูลด้วยดี. ฉ. พหุพ.
  35. สุหุชุ : (วิ.) ตรงด้วยดี, ซื่อตรงด้วยดี, ตรงดี, ซื่อตรงดี, งามดี. สุ+อุชุ หฺ อาคม.
  36. เสตฉตฺต เสตจฺฉตฺต : (นปุ.) ฉัตรหุ้มด้วยผ้าขาว, ฉัตรขาว, เศวตฉัตร.
  37. เสตุฆาต : (ปุ.) การฆ่าซึ่งบาปธรรมอันนับเนื่องแล้วในพระอริยมรรคชื่อเสตุ, การฆ่าซึ่งบาปธรรมด้วยอริยมรรคชื่อเสตุ.
  38. เสทาวกฺขิตฺต : ค. ชุ่มด้วยเหงื่อ
  39. เสนาสนฺตฎฺฐ : (วิ.) ผู้ไม่ยินดีแล้วในสมบัติของตน, ไม่ยินดีแล้วด้วยราชสมบัติของพระองค์. ส+อิน(สมบัติ)+อสนฺตุฎฺฐ.
  40. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  41. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  42. โสมปม : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอุปมา.
  43. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  44. หตฺถการ : (ปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  45. หตฺถกิจฺจ : (นปุ.) งานอันบุคคลทำด้วยมือ, การทำด้วยมือ, การช่าง, การทำด้วยฝีมือ, งานที่ทำด้วยความเชี่ยวชาญในการใช้มือ, งานฝีมือ.
  46. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  47. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  48. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  49. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  50. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1126

(0.0842 sec)