Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 851-900
  1. สมฺปุฎ : (ปุ.) หีบ, ผอบ, ตลับ, ตะกร้า, กล่อง, กล่องข้าว, ลุ้ง, สมุก ชื่อภาชนะสานกัน ๔ มุมมีฝาครอบ สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. สํปุพฺโพ, ปุฎ. สํกิเลสเน, อ. ส. สมฺปุฎ.
  2. สมฺพร : (ปุ.) สมพร ชื่ออสูรพิเศษ วิ. สํ ปสตฺโถ วโร ชามาตา ยสฺส โส สมฺพโร.
  3. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  4. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  5. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  6. สมฺมุขวินย : (ปุ.) สัมมุขาวินัย ชื่อวิธีระงับอธิกรณ์อย่างที่ ๑ ใน ๗ อย่าง.
  7. สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
  8. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  9. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  10. สมุทฺทกปฺปาสี : (อิต.) ฝ้ายทะเล ชื่อพรรณไม้.
  11. สมุทาหรณ : นป. การร้องเรียก, การเปล่ง
  12. สมุทาหรติ : ก. ร้องเรียก, เปล่ง
  13. สยวร : (ปุ.) สยมพร สยัมพร สยุมพร ชื่อพิธีการเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ การเลือกคู่ของนางกษัตริย์สมัยโบราณ.
  14. สรณ : (นปุ.) สรณะชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. เยน จตฺตาโร มคฺคา โอธิโส กิเลเส สรนฺติ ตํ ธมฺมํ สรณํ. อริยานํ วสิตเคหตฺตา วา สรณํ. สรฺ หึสายํ, ยุ.
  15. สรภ : (ปุ.) สรภะ ชื่อกลองชนิดหนึ่ง?
  16. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  17. สรภู : (อิต.) สรภู ชื่อแม่น้ำสายใหญ่สายที่ ๔ ใน ๕ สาย, แม่น้ำสรภู. วิ. สรานิ ภวนฺติ ยาย อธิภูตายาติ สรภู. สรตีติ วา สรภู. สรฺ คติยํ, อภู.
  18. สรสฺวตี : (อิต.) สรัสวดี ชื่อแม่น้ำ.
  19. สลฺลกี : (อิต.) อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยา, ช้างน้าว.
  20. สวณ : (ปุ.) สวณะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๒ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย. วิ. สวติ สุภาสุภผล เมเตนาติ สวโณ. สุ ปสเว, ยุ. เป็น สวน บ้าง.
  21. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  22. สสุมารคิร : (นปุ.) สุงสุมารคิระ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ.
  23. สหปุจฺฉิ : (อิต.) บังโกรยตัวเมีย ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. วิ สีหปุจฺฉาการกุสุมมญฺชริตาย สีหปุจฺฉิ.
  24. สหมฺปติ : (ปุ.) สหัมบดี ชื่อท้าวมหาพรหมผู้มาทูลอารธนาให้พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม, ท้าวสหัมบดี, ท้าวสหัมบดีพรหม.
  25. สาเกต : นป. ชื่อเมือง
  26. สาเกตุ : (นปุ.) สาเกตุ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ, เมืองสาเกต.
  27. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  28. สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
  29. สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
  30. สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
  31. สานุ : (ปุ.) สานุ ชื่อสามเณร.
  32. สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
  33. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  34. สาลินี : (ปุ.) สาลินี ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง.
  35. สาวตฺติ : ป. ชื่อฉันท์
  36. สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
  37. สาส : (ปุ.) โรคหืด, โรคผอมเหลือง, โรคมองคร่อ ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีเสมหะแห้งอยู่ในลำหลอดคอ. โรคไอ ก็แปล.
  38. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  39. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  40. สิขณฺฑ : (ปุ.) หาง, หางนกยูง, จุก, ผมจุก, หงอน, แหยม ชื่อปอยผมที่เอาไว้เป็นกระจุกบนหัวนอกจากจุก.
  41. สิขณฺฑก : (ปุ.) ผมแหยม, แกละ, ผมแกละ ชื่อผมที่เกล้าไว้เป็นหย่อม ๆ เป็นผมเด็ก. แยกเป็น ๕ หรือ ๓ หย่อม.
  42. สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
  43. สิตรสำ : (ปุ.) สิตรังษี ชื่อของพระจันทร์ พระจันทร์.
  44. สินฺทุวาร : (ปุ.) ย่างทราย, ย่านทราย ชื่อเถาวัลย์ป่า ใบใหญ่. วิ. สินฺทุ ํ คพฺภพนฺธนํ วาเรตีติ สินฺทุวาโร.
  45. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  46. สิมฺพลี : (ปุ. อิต.) ไม้งิ้ว, ไม้งิ้วบ้าน. อลี ปัจ. ส่วนมากใช้อิต. เรียกว่าที่อยู่ของพญาครุฑว่าวิมานสิมพลี หรือวิมานฉิมพลี.
  47. สิริมา : (อิต.) สิริมา ชื่อหญิงผู้เป็นน้องสาวของหมอชีวกโกมารภัจ.
  48. สิโลก : ป.โศลก; ชื่อเสียง, ฉันท์, สรรเสริญ
  49. สิวถิกา : (อิต.) หมาจิ้งจอก ชื่อหมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ำตาลแกมเทา หางยาวเป็นพู่ ชอบหากินในเวลากลางคืน สรฺ หึสายํ, อิโว. อภิฯ ตั้ง สมุ อุปสเม? หมาใน ก็แปล.
  50. สิวิ : (ปุ.) สิวิ สิวี ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. เสวนฺติ อเนนาติ สิวิ. สิ เสวายํ, วิ. สิวํ กโรนฺตีติ วา สิวิ. สิว+อิ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | [851-900] | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1233

(0.0941 sec)