Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 201-250
  1. คิริคุหา คิริคูหา : (อิต.) ช่องแห่งภูเขา, ถ้ำ.
  2. คุณคณ : อิต. หมวดแห่งคุณ, กองแห่งคุณ
  3. คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
  4. คุณากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งความดี.
  5. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  6. เคหวิคต : นป. ทรัพย์สมบัติแห่งบ้านเรือน, อุปกรณ์แห่งเรือน
  7. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  8. โคโคตฺต : (นปุ.) โคตรแห่งพระอาทิตย์, โคตรพระอาทิตย์.
  9. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  10. โคจรคาม : (ปุ.) บ้านเป็นที่เที่ยวแห่งภิกษุราว กะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, โคจรคาม คือ บ้านที่ภิกษุไปบิณฑบาตเสมอหมู่บ้านที่เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตเสมอ หมู่บ้านที่ เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตของสมณะ.
  11. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  12. โคปติ : ป. เจ้าแห่งโค
  13. โคมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งโค, สนามโค
  14. โคลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งโค, การทำนายโชคชะตาโดยดูลักษณะของโค
  15. : (ปุ.) คันไถ, คู่แห่งคันไถ, ระฆัง, ระฆัง ใหญ่. ฆธาตุ อสหเณ อขนฺติยํ วา, อ.
  16. ฆฏาทิสกล : (ปุ. นปุ.) ส่วนแห่งวัตถุมีหม้อ เป็นต้น.
  17. ฆนเสลปพฺพต : (ปุ.) ภูเขาเป็นวิหารแห่งหิน เป็นแท่ง, ภูเขาเป็นแท่งทึบ.
  18. ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
  19. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  20. ฆานธาตุ : อิต. ฆานธาตุ, ธาตุแห่งการรับรู้กลิ่น
  21. จกฺกนฺต : (ปุ.) ดุมแห่งรถ, ดุมรถ.
  22. จกฺกยุค : นป. คู่แห่งล้อ, ล้อรถทั้งคู่
  23. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  24. จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ : (อิต.) ขอบแห่งปากแห่ง จักรวาฬ.
  25. จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
  26. จกฺขุปถ : ป. คลองแห่งจักษุ, วิถีแห่งจักษุ, ทัศนวิสัย
  27. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  28. จณฺฑิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนดุร้าย, ฯลฯ จณฺฑาล + กณฺ ปัจ. ภาวตัท แปลง อา เป็น อิ แปลง ล เป็น ก.
  29. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  30. จตฺตาฬีสภิกฺขุสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งภิกษุสี่สิบ (ภิกษุสี่หมื่นรูป).
  31. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  32. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  33. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  34. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  35. จตุมาสจฺจย : (วิ.) อันเป็นไปล่วงแห่งเดือนสี่, อันเป็นไปล่วงสิ้นเดือน ท. สี่, สิ้นเวลา สี่เดือน.
  36. จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
  37. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  38. จนฺทคฺคาห : ป. การจับพระจันทร์ (แห่งอสุรินทราหู), จันทรคราส, จันทรุปราคา
  39. จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
  40. จนฺทมณฺฑล : นป. จันทมณฑล, มณฑลแห่งพระจันทร์, วงรัศมีแห่งพระจันทร์, วงเดือน
  41. จมูนาถ : ป. นายทหารผู้เป็นที่พึ่งแห่งกองทัพ, นายทัพ, นายพล
  42. จมูปติ : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งกองทัพ, แม่ทัพ, เสนาบดี.
  43. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  44. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  45. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  46. จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
  47. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  48. จิงฺคุลก, - คูลก : นป. ลูกเดือย, (บางแห่งเป็น ฑิงฺคุลก ก็มี เป็น ฑงฺคุลก ก็มี)
  49. จิตฺตกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  50. จิตฺตกลฺลตา : อิต. ความพรั่งพร้อมแห่งจิต, การฉับไวแห่งจิต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0546 sec)