Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ประเทศไทย, โทรศัพท์, องค์การ, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, 1278 found, display 901-950
  1. รตนตฺตยคุณ : (ปุ.) คุณแห่งพระรัตนตรัย.
  2. รตนากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งรตนะ, ทะเล.
  3. รส : ป. รส, อายตนะส่วนหนึ่งเป็นวิสัยแห่งลิ้น; อาหารเหลว; มรรยาท; หน้าที่; สมบัติ;ปรอท
  4. ราคกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งความกำหนัด
  5. ราหุ : ป. ราหู; เจ้าแห่งหมู่อสูร
  6. รูปสมฺปตฺติ : อิต. รูปสมบัติ, ความถึงพร้อมแห่งรูป
  7. ลกฺขณสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งลักษณะ, ความมีลักษณะสวยงาม
  8. ลิงฺค : นป. นิมิตแห่งบุรุษสตรี, เครื่องหมาย, ลักษณะ
  9. โลกนฺตร : นป. โลกอื่น; ระหว่างแห่งโลก
  10. โลกนิโรธ : ป. ความสิ้นสุดแห่งโลกความฉิบหายแห่งโลก
  11. โลหกุมฺภี : อิต. หม้อทองแดง; ชลาลัยคือ บ่อแห่งห้วงน้ำในนรก
  12. วจนตฺถ : ป. ความหมายแห่งถ้อยคำ
  13. วมฺปติ : (ปุ.) เจ้าแห่งโค, เจ้าของแห่งโค.
  14. วารุณี : อิต. เหล้า, เทวีแห่งเหล้า
  15. วาสุเทว : ป. เหล่ากอแห่งพระวสุเทว, พระนารายณ์ปางพระกฤษณะ
  16. โว : ๑. อ.โว้ย; ๒. ส. แห่งท่านทั้งหลาย
  17. สกีย : ค. ของแห่งตน
  18. สขาทิผลุ : (นปุ.) ข้อแห่งภูตคาม มีก้านเป็นต้น, ปล้องแห่งภูตคามมีกิ่งเป็นต้น.
  19. สคฺค : ป. สวรรค์, ที่แห่งความสุข
  20. สนฺถวตฺติ : (อิต.) ความรักด้วยสามารถแห่งความคุ้นเคย, ฯลฯ, สันถวไมตรี.
  21. สนฺธิกณฺณ : (ปุ.) มุมแห่งห้อง.
  22. สปติ : (ปุ.) เจ้าของแห่งทรัพย์. ส+ปติ.
  23. สปฺปทฐา : (อิต.) เขี้ยแห่งงู, เขี้ยวงู.
  24. สปฺปผณ : (นปุ.) แม่เบี้ยแห่งงู, แม่เบี้ยงู.
  25. สปฺปราช : (ปุ.) ราชาแห่งงู, พญางู, นาคราช.
  26. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  27. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  28. สพฺพธิ : อ. ในที่ทุกแห่ง
  29. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  30. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  31. สมนฺต : (วิ.) รอบ, รอบคอบ, ทั่วไป, ทุกหนทุกแห่ง. ส. สมนฺต.
  32. สมนฺตโต สมนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดย...ทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยรอบ. อภิฯ และรูปฯ ว่าเป็นนิบาตลงในอรรถแห่งสัตมี.
  33. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  34. สมฺปทาน : (วิ.) เป็นที่มอบให้แห่งชน, เป็นที่อันเขามอบให้, เป็นที่มอบให้, อ้าง.
  35. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  36. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  37. สมฺมาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตชอบ, ความตั้งใจมั่นชอบ, ความตั้งใจไว้ชอบ, ความตั้งใจชอบ.
  38. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  39. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  40. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  41. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  42. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  43. สมุจฺเฉทปหาน : (นปุ.) การละด้วยความสามารถแห่งอันตัดขาด, สมุจเฉทปหาน คือ การละ(ตัด)กิเลสได้เด็ดขาด เป็นการสละกิเลสด้วยอริยมรรคของพระอริยบุคคล.
  44. สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
  45. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  46. สรณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความระลึก, กิริยาที่ระลึก.
  47. สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
  48. สรพฺย สรวฺย : (นปุ.) ที่หมาย, เป้า. วิ. สโร วยติ อสฺมินฺติ สรพฺยํ สรวฺยํ วา. วยฺ คติยํ, อ, วสฺสาการโลโป (ลบ อ อักษรแห่ง ว).
  49. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  50. สลิลพฺภม : (ปุ.) ความหมุนแห่งน้ำ, น้ำวน. วิ. จกฺก มิว สลิลานํ ภโม สลิลพฺภโม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1278

(0.0447 sec)