Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 1301-1350
  1. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  2. อิจฺฉาวิฆาต : นป. ความขัดข้องแห่งความปรารถนา, ความไม่สมหวัง
  3. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  4. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  5. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  6. อิทฺธานุภาว : (ปุ.) อานุภาพแห่งฤทธิ์, อานุภาพแห่งเดช.
  7. อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
  8. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  9. อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
  10. อิทฺธิวิสย : ป. วิสัยแห่งฤทธิ์
  11. อิทปจฺจยตา อิทปฺปจฺจตา : (อิต.) ความเป็น แห่งธรรม มีอวิชชาเป็นต้นเป็นปัจจัย, ความเป็นแห่งสังสารอัฏมีอวิชชาเป็นต้น เป็นปัจจัย.
  12. อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
  13. อินฺทุริยปโรปริยตฺติ : อิต. ความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย
  14. อิรา : (อิต.) นางเทวธิดาแห่งวาจา, แผ่นดิน, น้ำ, เหล้ากลั่น. ฝนลูกเห็บ.
  15. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  16. อิรีณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมิได้ (เพราะไม่มีต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น), ที่มี ดินเค็ม.
  17. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  18. อิสิปตนมิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ตกไปแห่ง ฤาษีและเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ, ป่าเป็นที่อยู่ แห่งฤาษีและห้ามฆ่าสัตว์.
  19. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  20. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  21. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  22. อุจฺจ : (อัพ. นิบาต) ใหญ่, สูง. สัททนีติ และ รูปฯ ลงในอรรถแห่งสัตมี. อภิฯ ลงใน สัตมีและวิภัติอื่น.
  23. อุจฺจารมคฺค : (ปุ.) ทางแห่งอุจจาระ, ทวาร หนัก. ส. อุจฺจารมรฺค.
  24. อุจฺจูล : ป. ธงชัย, ธงแห่งความชนะ
  25. อุจฺฉุยฏฺฐ : (อิต.) ลำแห่งอ้อย, ลำอ้อย, ต้นอ้อย.
  26. อุจฺฉุรส : (ปุ.) รสแห่งอ้อย, น้ำอ้อยงบ.
  27. อุชฺชงฺคล : (นปุ.) ที่เป็นที่ขาดเขินแห่งน้ำ, ที่ ดอน, อุทก+ชงฺคล ลบ ทก ซ้อน ชฺ.
  28. อุชุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนตรง, ฯลฯ. ตา ปัจ.
  29. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  30. อุณหภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งความร้อน, ระดับ แห่งความร้อน, อุณฺหภูมิ (ระดับแห่ง ความร้อนเย็นของอากาศ).
  31. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  32. อุตุปริสฺสย : ป. อันตรายจากฤดู, ภัยพิบัติแห่งฤดู
  33. อุทกกฏาห : (นปุ.) อ่างแห่งน้ำ, อ่างขังน้ำ, อ่างน้ำ.
  34. อุทกธาร : (ปุ.) สายแห่งน้ำ, สายน้ำ, ท่อน้ำ, บ่อน้ำ.
  35. อุทกธารา : (อิต.) สายแห่งน้ำ, สายน้ำ, ท่อน้ำ, บ่อน้ำ.
  36. อุทกปตฺต : (ปุ.) หม้อแห่งน้ำ, หม้อน้ำ.
  37. อุทกพินฺทุ : (นปุ.) หยาดแห่งน้ำ, หยาดน้ำ.
  38. อุทกมาติกา : (อิต.) รางแห่งน้ำ, รางน้ำ.
  39. อุทกรหท : (ปุ.) ห้วยแห่งน้ำ, ห้วงน้ำ.
  40. อุทกวาร : ป. วาระแห่งน้ำ, ถึงวาระเป็นผู้นำน้ำมาให้
  41. อุทฺธเทหิก : (ไตรลิงค์) ทานมีเบื้องบนแห่งกาย, ทานที่ให้เพื่อผู้ตายในวันตาย. วิ. มตทิวเส มตตฺถํ ยํ ปิณฺฑปาตชลาญฺชลฺยาทิทานํ เอตํ ทานํ เทหา อุทฺเธ ภวํ อุทฺธเทหิกํ. ณิก ปัจ.
  42. อุทฺธรตฺต : (นปุ.) กึ่งแห่งราตรี.อทฺธ+รตฺติแปลงอิเป็นอ.
  43. อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
  44. อุทพินฺทุ อุทวินฺทุ : (นปุ.) หยาดแห่งน้ำ, หยาดน้ำ.
  45. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  46. อุทรงฺค : (นปุ.) แถวหนังแห่งท้อง (อุทร- จมฺมราชิ).
  47. อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
  48. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  49. อุปนทฺธิ : (อิต.) กิเลสชาติเครื่องผูกพัน, การผูกพัน, การมัด, การรัด, การร้อยรัด. อิ. ปัจ.
  50. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | [1301-1350] | 1351-1371

(0.0803 sec)