Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 651-700
  1. นรกงฺคาร : ป. ถ่านไฟนรก, เพลิงแห่งความชั่ว
  2. นรปติ : ป. นฤบดี, ผู้เป็นใหญ่แห่งคน, พระเจ้าแผ่นดิน
  3. นรินฺท : ป. จอมแห่งนระ, พระเจ้าแผ่นดิน
  4. นลคฺคิ : ป. ไฟแห่งไม้อ้อ, ไฟที่เกิดจากไม้อ้อ
  5. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  6. นฺหานเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่อาบ, เวลาแห่ง การอาบ.
  7. นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
  8. นาคพล : นป., ค. กำลังแห่งช้าง; มีกำลังเท่ากับช้าง, มีกำลังเพียงดังกำลังแห่งช้าง
  9. นาครตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวเมือง วิ. นาครานํ สมูโห นาครตา. ความเป็นแห่ง ชาวเมือง วิ. นาครานํ ภาโว นาครตา.
  10. นาคโลก : (ปุ.) โลกแห่งนาค, นาคพิภพ, บาดาล.
  11. นาคาธิปติ : (ปุ.) นาคาธิบดี ชื่อเทพผู้เป็น อธิบดีแห่งนาคเป็นใหญ่และรักษาทิศ ตะวันตก คือท้าววิรูปักษ์.
  12. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  13. นานตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของต่างๆ, ฯลฯ.
  14. นานตา : (อิต.) ความาเป็นแห่งของต่างๆ, ความเป็นแห่งของต่างๆ กัน, ความเป็น ของต่างกัน. วิ. นาน เมว นานตา.
  15. นานาชจฺจ : ค. มีชาติกำเนิดต่างๆ กัน, มีหลายชาติ
  16. นานาธิมุตฺติกตา : อิต. ความเป็นต่างๆ กันแห่งอัธยาศัย, ความต่างๆ กันแห่งความโน้มเอียง
  17. นามกาย : (ปุ.) กองแห่งนาม, กองแห่งนาม ธรรม, หมู่คือนาม, หมู่คือนามธรรม.
  18. นิกุญช : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอันสะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น.นิปุพโพ,กุญฺชฺอพฺยตฺตสทฺเทกรเณวา,โณ.
  19. นิโคฺรธปริมณฺฑล : ๑. นป. ปริมณฑลหรือบริเวณของต้นไทร; ๒. ค. มีปริมณฑลเหมือนปริมณฑลแห่งต้นไทร
  20. นิฆณฺฑุ : (ปุ.) นิฆัณฑุศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย ชื่อแห่งสิ่งของมีต้นไม้เป็นต้น วิ. วจนีย วาจกภาเวน อตฺถํ สทฺทํ จ นิขณฺฑติ ภินฺทติ วิภชฺช ทสฺเสตีติ นิฆณฺฑุ. นิปุพฺโพ, ขฑิ เภทเน, อุ, ขการสฺส ฆตฺตํ เป็น นิขณฺฑุ โดยไม่แปลง ข เป็น ฆ บ้าง.
  21. นิชฺฌร : (ปุ.) การไหลไปแห่งน้ำ, ลำธาร, แม่น้ำ, น้ำตก. วิ. นิสฺสรณํ นิชฺฌโร. นิปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, อ. แปลง ส เป็น ช แล้ว แปลง ช เป็น ชฺฌ ปพฺพตปาสาณาทีสุ อมฺพุโน ปสโว นิชฺฌโร นาม. เป็นนิฌร ก็มี. ส. นิรฺฌร.
  22. นิติธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งกฎหมาย, นิติธรรม.
  23. นิตินย : (ปุ.) ทางแห่งกฎหมาย, ทางกฎหมาย.
  24. นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
  25. นิทฺทรถ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งความเร่าร้อน, ฯลฯ, วิ. ทรถานํ อภาโว นิทฺทรถํ.
  26. นิทฺธ : (นปุ.) รัง อ. โรคนิทฺธํ เป็นรังแห่งโรค.
  27. นิธานค : (วิ.) (ทรัพย์) อันถึงแล้วด้วยสามารถ แห่งอันเก็บ วิ. นิธานวเสน คตํ ปวตฺตํ นิธานคํ.
  28. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  29. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  30. นิยามตา : (อิต.) ทำนอง อุ. ธมฺมนิยามตา ทำนองแห่งธรรม. ตา ปัจ. สกัด.
  31. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  32. นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
  33. ปจฺจยาการ : ป. อาการแห่งเหตุ, การบังเกิดขึ้นแห่งเหตุ, การอาศัยกันเกิดขึ้น
  34. ปชฺชุนฺน : ป. เมฆฝน, เจ้าแห่งฝน
  35. ปชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
  36. ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
  37. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  38. ปฏิปุคฺคลิก : ค. มีคนทัดเทียม, มีคนเปรียบเทียบ, อันเป็นของแห่งคู่แข่ง
  39. ปฏิสงฺขานพล : นป. กำลังแห่งการพิจารณา, ธรรมที่เป็นกำลังคือการพิจารณา, อำนาจการพิจารณา
  40. ปฐวีกมฺป : ป. ความสั่นสะเทือนแห่งแผ่นดิน, แผ่นดินไหว
  41. ปฐวีมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งดิน, วงกลมแห่งพื้นดิน, พื้นดิน, ที่ดิน
  42. ปฐวีรส : ป. รสแห่งดิน, รสเกิดจากดิน, รสดิน
  43. ปฐโวชา : อิต. โอชาแห่งแผ่นดิน, โอชาเกิดแต่ดิน, ง้วนดิน
  44. ปณฺฑุกมฺพล : นป. ผ้ากัมพลสีเหลือง; ชื่อชนบทแห่งหนึ่งในอินเดีย
  45. ปตฺตคนฺธ : ป. กลิ่นแห่งใบ, กลิ่นใบไม้
  46. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  47. ปตฺตปูฏ : (ปุ.) ห่อแห่งใบ, ถุงบาตร, ถลกบาตร.
  48. ปติกุล : นป. ตระกูลแห่งผัว, วงศ์ตระกูลฝ่ายสามี
  49. ปทเจติย : (นปุ.) พระเจดีย์คือรอยแห่งพระบาท ( รอยเท้าของพระพุทธเจ้า ) .
  50. ปทตฺถ : ป. อรรถแห่งบท, ความหมายของคำ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | [651-700] | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0839 sec)