Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักงานสถิติแห่งชาติ, สำนักงาน, สถิติ, แห่ง, ชาติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 1371 found, display 751-800
  1. ปุญฺญภาค : ป. ส่วนแห่งบุญ
  2. ปุญฺญภาคี : ค. ผู้มีส่วนแห่งบุญ
  3. ปุญฺญโลก : ป. สวรรค์, โลกที่เกิดด้วยอานุภาพแห่งบุญ
  4. ปุญฺญาภิสนฺท : ป. การหลั่งไหลแห่งบุญ, ผลของบุญ
  5. ปุฏเภท : ป., ปุฏเภทน นป. การแตกต่างแห่งถุงหรือห่อ, การเปิดถุงหรือห่อ
  6. ปุพฺพกมฺม : (นปุ.) กรรมมีแล้วในกาลก่อน, กรรมที่ทำแล้วในกาลก่อน,กรรมในกาลก่อน, บุพพกรรม, บุพกรรม, บุรพกรรม (กรรมที่ทำไว้แต่ปางก่อน กรรมที่ทำไว้แต่ชาติก่อน).
  7. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  8. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  9. ปุพฺพณฺห : (นปุ.) เบื้องต้นแห่งวัน, เวลาอันเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, เวลาเช้า. อหสฺส ปพฺพํ ปุพฺพณฺหํ. อหสฺส อณฺหภาโว (แปลง อห เป็น อณฺห).
  10. ปุพฺพณฺหสมย : (ปุ.) สมัยเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, ฯลฯ.
  11. ปุพฺพรตฺต : (นปุ.) กาลก่อนแห่งราตรี วิ. รตฺติยา ปุพฺพํ ปุพฺพรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต รูปฯ ๓๓๖.
  12. ปุพฺพรตฺติ : (อิต.) ราตรีมีในเบื้องต้น,ราตรีเป็นเบื้องต้น, กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี.
  13. ปุพฺพวฏฺฏิ : (อิต.) เกลียวแห่งน้ำหนอง.
  14. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  15. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  16. ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
  17. ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
  18. ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
  19. ปุเรภตฺต : (นปุ.) ก่อนแห่งภัต, กาลก่อนแต่กาลแห่งภัต (ในเวลาก่อนฉัน), ก่อนอาหาร, เวลาก่อนอาหาร, ปุเรภัต, วิ. ภตฺตสฺส ปุเร ปุเรภตฺตํ. ภตฺตา วา ปุเร ปุเรภตฺตํ.
  20. ปูววิกติ : (อิต.) ชนิดแห่งขนม.
  21. เปตฺติ : (ปุ.) ประชุมแห่งเปรต, หมู่แห่งเปรต. วิ. เปตานํ สมูโห เปตฺติ.
  22. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  23. เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  24. เปตโยนิ : (อิต.) กำเนิดแห่งเปรต
  25. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  26. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  27. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  28. โปถุชฺชนิก : (วิ.) อันเป็นของมีอยู่แห่งปุถุชน, เป็นของปุถุชน. ปุถุชฺชน+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  29. โปโรหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งปุโรหิต. วิ. ปุโรหิตสฺส ภาโว โปโรหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑.
  30. ผลปญฺจก : นป. หมวดห้าแห่งผล
  31. ผลภาชน : ๑. นป. ภาชนะแห่งผลไม้; ๒. ป. ผู้ให้ผลไม้, ผู้แบ่งผลไม้
  32. ผลวิปาก : (ปุ.) ความสุกวิเศษแห่งผล, ความสุกวิเศษแห่งผลแห่งกรรม.
  33. ผสฺสกาย : ป. หมวดแห่งสัมผัส
  34. เผณปฏล : นป. แผ่นแห่งฟองน้ำ
  35. เผณมาลา : อิต. มาลา - , แถว- , แนว-, ระเบียบแห่งฟองน้ำ
  36. เผณมาลี : ค. มีมาลัยแห่งฟองน้ำ, มีแถวแห่งคลื่นน้ำ
  37. เผณวณฺณ : ป. สีแห่งฟองน้ำ
  38. เผณุทฺเทหก : ค. คลื่นแห่งฟองน้ำ
  39. พนฺธุตา : อิต. ประชุมแห่งเผ่าพันธุ์, หมู่ญาติพี่น้อง
  40. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  41. พฺรหฺมกุตฺต : นป. การงานของพรหม, การกระทำแห่งพรหม
  42. พฺรหฺมตฺตภาว : ป. อัตภาพแห่งพรหม
  43. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  44. พฺรหฺมทายาท : ป. ทายาทแห่งพรหม, ผู้รับมรดกอันประเสริฐ
  45. พฺรหฺมปตฺต : ค. ถึงภาวะแห่งพรหม, ถึงความเป็นผู้ประเสริฐ
  46. พฺรหฺมปริสา : อิต. บริษัทแห่งพรหม, บริวารแห่งพรหม, การประชุมแห่งพวกพรหมในพรหมโลก
  47. พฺรหฺมพนฺธุ : (ปุ.) ชนผู้เป็นพวกพ้องแห่งพรหม, พราหมณ์.
  48. พฺรหฺมภวน : นป. ภพแห่งพรหม
  49. พฺรหฺมยาน : นป. พรหมยาน, ยานอันประเสริฐ, ทางแห่งความดีอันประเสริฐ
  50. พฺรหฺมรูปวณฺณ : (วิ.) มีวรรณะเพียงดังวรรณะแห่งรูปแห่งพรหม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | [751-800] | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1371

(0.0629 sec)