Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สำนัก, แห่ง, ชาติ, ข่าว, กรอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, 1452 found, display 1151-1200
  1. สุสาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนแห่งศพ, ป่าช้า. วิ. ฉวสฺส สยนฎฺฐานํ สุสานํ. ฉวสฺส สุ, สยนสฺส สาโน. หรือลบ ย แปลง อ ที่ ส เป็น อา.
  2. สูกรเปต : (ปุ.) เปรตมีสีสะดังสีสะแห่งสุกร, เปรตมีหัวเหมือนหัวหมู. มี วิ. ดังนี้.
  3. สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
  4. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  5. เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
  6. เสนากูฎ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นยอดแห่งกองทัพ, แม่ทัพ, จอมพล.
  7. เสนางฺคนิกร : (ปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ,
  8. เสนาปติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งเสนา, บุคคลผู้เป็นเจ้าแห่งเสนา, ขุนพล, นายพล, เสนาผู้ใหญ่, เสนาบดี ชื่อตำแหน่ง ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้เป็นหัวหน้าของกระทรวง ปัจจุบันเรียกว่ารัฐมนตรี. ส. เสนาปติ.
  9. เสนาพยุห : (ปุ.) กระบวนแห่งกองทัพ, กระบวนทัพ, ขบวนทัพ (การจัดกองทัพ ออกเป็นหมวด ๆ).
  10. เสรีธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งเสรีภาพ. เสรีภาวนา+ธมฺม.
  11. เสรีภาพ : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีอิสระ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีเสรี, ความเป็นผู้มีเสรี, ความมีเสรี.
  12. เสวก : (ปุ.) ข้าเฝ้า, อำมาตย์, เสวก(เส+วก ข้าราชการในราชสำนัก). เสวฺเสวเน, ณฺวุ.
  13. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  14. โสต : (วิ.) อันยังกิเลสให้แห้ง วิ. กิเลเส โสสาเปตีติ โสโต. สุสฺ โสสเน, โณ, อุสฺโส, สสฺส โต. อันกำจัดกิเลส วิ. สุนาติ กิเลเส หึสตีติ โสโต. สุ คติยํ, โต. ถึงซึ่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพฺพานํ คจฺฉตีติ โสโต. ถึงซึ่งพระกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพพานโสตํ คจฺฉตีติ โสโต.
  15. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  16. โสตาปตฺติยงฺค : (วิ.) อันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน.
  17. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  18. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  19. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  20. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  21. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  22. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  23. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  24. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  25. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  26. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  27. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  28. หตฺถตล : (นปุ.) พื้นแห่งมือ, ฝ่าแห่งมือ, ฝ่ามือ.
  29. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  30. หตฺถิฆฎา : (อิต.) ฝูงแห่งช้าง, โขลงแห่งช้าง, ฝูงช้าง, โขลงช้าง. วิ. หตฺถีนํ สมูโห ฆฎา หตฺถิฆฎา.
  31. หตฺถิลิงฺค : (วิ.) มีเพศเพียงดังเพศแห่งช้าง.
  32. หริสฺสวณฺณ : (วิ.) มีสีดังว่าสีแห่งทอง, มีรัศมีอันงามดุจสีแห่งทอง, มีวรรณะเสมอด้วยทอง, มีสีเสมอด้วยทอง, มีผิวงามเหมือนทอง. วิ. หรินา สมาโน วณฺโณ ยสฺสาติ หริสฺสวณฺโณ. แปลง สมาน เป็น ส ซ้อน สฺ.
  33. หลปทฺธติ : (อิต.) รอยแห่งไถ, รอยไถ. ส. หลิ.
  34. หิมวาส หิมเวส : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ที่อยู่อันหนาว, ที่อยู่แห่งหิมะ, ภูเขาหิมพานต์, ป่าหิมพานต์.
  35. หิมาลย : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ป่าหิมพานต์, หิมาลัย, ภูเขาหิมาลัย.
  36. เหฎฺฐามญฺจ : (นปุ.) ภายใต้แห่งเตียง
  37. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  38. อกฺขโกฏิ : (อิต.) หางแห่งตา, หางตา.
  39. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  40. อกฺขรวิธาน : (นปุ.) วิธีแห่งอักษร, อักขรวิธี.
  41. อกฺขรสตฺถ : (นปุ.) คัมภึร์แห่งอักษร, ตำราว่าด้วยอักขระ, ตำราพรรณนาถึงอักษร, อักษรศาสตร์ชื่อตำราว่าด้วยวิชาการทางหนังสือ.
  42. อกฺขราวยว : (ปุ.) ส่วนแห่งอักษร, ส่วนต่างๆแห่งอักษร.
  43. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  44. อกฺขายิก : ค. ซึ่งบอกข่าว, ซึ่งบอกเล่า
  45. อกฺขิโกฏิ : (อิต.) หางแห่งตา, หางตา.
  46. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  47. อกมฺปียตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันโลกธรรมให้หวั่นไหวไม่ได้.
  48. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  49. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  50. อคฺคมหาเสนาปติ : (ปุ.) มหาเสนาบดีผู้เลิศ, อัครมหาเสนาบดี (ผู้เป็นหัวหน้าแห่งเสนาบดี).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1452

(0.0922 sec)