Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สำนัก, แห่ง, ชาติ, ข่าว, กรอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, 1452 found, display 1351-1400
  1. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  2. อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
  3. อาธิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใหญ่.วิ.อธิกสฺสภาโวอาธิกฺกํ.ณฺญปัจ. ภาวตัท.แปลงยเป็นก
  4. อาธิปจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งอธิบดี, ความเป็นอธิบดี.วิ. อธิป-ติสฺสภาโวอาธิปจฺจํ.ณฺยปัจ.ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจ.
  5. อานิสส : (ปุ.) คัณอันไหลออกเป็นนิตย์จากผล, อานิปุพฺโพ, สนฺทฺปสเว, อ.แปลงนฺเป็นนิคคหิตทเป็นส.คุณเป็นที่ไหลออกโดยยิ่ง.อา+นิ+สนฺทฺ+อปัจ.ผลอันไหลออกจากเหตุดี.อานิ=ผลสํส=ไหลออก.ความดี, คุณ, ประโยชน์, อานิสงส์(ผลแห่งการทำนั้น ๆผลแห่งกุศลผลแห่งความดี).อา-นิปุพฺโพ, สํสฺถุติยํ, อ.
  6. อาป : (ปุ.) ธรรมชาตอันเอิบอาบไปสู่ที่นั้น ๆ, ธรรมชาตอันเอิบอาบไปทุกแห่ง, น้ำ.วิ.ตํตํฐานํวิสรตีติอาโป.อปฺพฺยาปเนปาปเนวา, อ.อโปติสพฺพเตรฺติวาอาโปธรรมชาตอัน....ดื่มวิ.ปาปิยตีติอาโป.อาปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.ธรรมชาติที่แห้งเพราะความร้อนวิ. อาปียติ โสสียตีติอาโปอาปุพฺโพ, ปา โสสเน, อ.ที่อยู่แห่งน้ำ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาป
  7. อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
  8. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  9. อาปาณโกฏิก : (นปุ.) อันถึงซึ่งที่สุดแห่งชีวิต, การถึงซึ่งที่สุดแห่งชีวิต.วิ.อาปาณสฺสโกฏิยาคมนํอาปาณโกฏิกํ.กปัจ.รูปฯ ๓๒๑.
  10. อาภสฺสร : (วิ.) เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีซ่านออกจากกาย, สว่าง, สุกใส, เปล่งปลั่ง.
  11. อายตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พึ่งพิง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ขยัน, ฯลฯ.
  12. อายส : (วิ.) เป็นวิการแห่งเหล็กวิ. อยโส วิกาโรอายโส.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาคมรูปฯ ๓๖๒.
  13. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  14. อายุกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งอายุ, การสิ้นอายุ
  15. อายุขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอายุ, ความสิ้นแห่งอายุ, ความสิ้นอายุ, การสิ้นอายุ, อายุขัย ( ความตาย เมื่อหมดเขตของอายุของสัตว์).ส.อายุกฺษย.
  16. อายุปฺปมาณ : นป. ประมาณแห่งอายุ, ประมาณอายุ
  17. อายุปริยนฺต : ป. ที่สุดรอบแห่งอายุ
  18. อารกตาอารกตฺตา : (อิต.) ความที่แห่ง....เป็นผู้ไกล, ความที่แห่ง....เป็นของไกล.
  19. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  20. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  21. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  22. อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
  23. อาเวล อาเวฬ : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศีรษะ, ดอกไม้ประดับศีรษะ,พวงมาลัย. อาปุพฺโพ, อวฺ รกฺขเณ, เอโล.
  24. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  25. อาสวกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  26. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  27. อาหรณก : ค. ผู้นำมา, ผู้สื่อข่าว
  28. อาฬาร อาฬารตาปส : (ปุ.) อาฬารดาบส ชื่อดาบสหัวหน้าสำนัก ซึ่งพระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอนผนวชใหม่ ๆ.
  29. อิจฺฉาวิฆาต : นป. ความขัดข้องแห่งความปรารถนา, ความไม่สมหวัง
  30. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  31. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  32. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  33. อิทฺธานุภาว : (ปุ.) อานุภาพแห่งฤทธิ์, อานุภาพแห่งเดช.
  34. อิทฺธาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งแห่งฤทธิ์, การปรุงแต่งขึ้นด้วยฤทธี.
  35. อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
  36. อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.
  37. อิทฺธิวิสย : ป. วิสัยแห่งฤทธิ์
  38. อิทปจฺจยตา อิทปฺปจฺจตา : (อิต.) ความเป็น แห่งธรรม มีอวิชชาเป็นต้นเป็นปัจจัย, ความเป็นแห่งสังสารอัฏมีอวิชชาเป็นต้น เป็นปัจจัย.
  39. อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
  40. อินฺทุริยปโรปริยตฺติ : อิต. ความหย่อนและยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย
  41. อิรา : (อิต.) นางเทวธิดาแห่งวาจา, แผ่นดิน, น้ำ, เหล้ากลั่น. ฝนลูกเห็บ.
  42. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  43. อิรีณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมิได้ (เพราะไม่มีต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น), ที่มี ดินเค็ม.
  44. อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
  45. อิสิปตนมิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ตกไปแห่ง ฤาษีและเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ, ป่าเป็นที่อยู่ แห่งฤาษีและห้ามฆ่าสัตว์.
  46. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  47. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  48. อุกฺกา : (อิต.) คบ (ของใช้สำหรับจุดไฟให้ สว่าง ทำด้วยของต่าง ๆ เช่น กาบมะพร้าว ชุบน้ำมันยาง เป็นต้น), คบเพลิง, คบไฟ, เบ้า, เตาไฟของช่างโลหะ, เตาถ่านสำหรับ หลอมโลหะ, เตา, เตาถ่าน, เตาตีเหล็ก, โคม, ประทีป, ตะเกียง, กำลังแห่งลม, ความเร็วของลม. วิ. อุสตีติ อุกฺกา. อุสุ ทาเห, โก. ส. อุกฺกา.
  49. อุจฺจ : (อัพ. นิบาต) ใหญ่, สูง. สัททนีติ และ รูปฯ ลงในอรรถแห่งสัตมี. อภิฯ ลงใน สัตมีและวิภัติอื่น.
  50. อุจฺจารมคฺค : (ปุ.) ทางแห่งอุจจาระ, ทวาร หนัก. ส. อุจฺจารมรฺค.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1452

(0.0778 sec)