Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 1051-1100
  1. กุเวณิ กุเวณี : (อิต.) ไซ, ลอบ, อวน, แห. กุจฺฉิตา เวณิ เวณี วา อสฺสาติ กุเวณิ กุเวณี วา.
  2. กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
  3. เกกร : (ปุ.) คนตาเหล่, คนตาหลิ่ว, คนตาส่อน. วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ เกกโร. กุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, อุสฺเส (แปลง อุ แห่ง กุ เป็น เอ). สฺ เกกร.
  4. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  5. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  6. โกฏมฺพร : (นปุ.)ผ้าทำด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด วิ. มิคโลมานิ โกฏฺเฏตฺวา สุขุมานิ กตฺวา กต มมฺพรํ โกฏมฺพรํ. ผ้าเกิดในรัฐโกฏุม- พระ วิ. โกฏุมฺพรฏฺเฐ ชาตตฺตา โกฏุมฺพรํ.
  7. โกตฺถ โกตฺถุ : (ปุ.) หมาจิ้งจอก วิ. กุสติ เถรวนาทตฺตาติ โกตฺโถ โกตฺถุ วา. กุสฺ ธาตุในความเห่า ถ ถุ ปัจ. แปลงเป็น ตฺถ ตถุ ลบ สฺ หรือแปลง สฺ เป็น ตฺ ไม่แปลง ปัจ.
  8. โกทณฺฑ : (นปุ.) ธนู, หน้าไม้, เกาทัณฑ์. วิ. กึ นาม น ทณฺฑยตีติ โกทณฺฑํ. กึปุพฺโพ, ทณฺฑฺ วินิปาเต, อ. กึ นาม น ทุโนตีติ วา โกทณฺโฑ. ทุ ปริตาเป, โฑ. กึ นาม ทมฺยตีติ วา โกทณฺโฑ. ทมฺ คติมฺหิ, โฑ. กุฏิลตฺตา กุจฺฉิโต ทณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ วา โกทณฺโฑ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. โกทณฺฑ.
  9. โกลี : (อิต.) ต้นพุทรา, ต้นกระเบา, ต้นมะดูก. วิ. สกณฺฏกตฺตา กุจฺฉิตํ ลาตีติ โกลี. กุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อี.
  10. โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
  11. โกเสยฺย : (นปุ.) ผ้าทอด้วยไหม วิ.โกสโต ชาตตฺตา โกเสยฺยํ. เอยฺย ปัจ.
  12. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  13. ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
  14. ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
  15. เขฏ : (ปุ.) ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ขิฏฺ อุตฺตาเส, อ. วิการ อิ เป็น เอ.
  16. คณปูรก : (วิ.) ผู้ยังหมู่ให้เต็ฒ, ผู้ยังหมู่ให้ครบ จำนวณ, ผู้ยังหมู่ให้ครบจำนวณตามกฏ.
  17. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  18. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  19. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  20. คมฺภีร : (ปุ.) คัมภีระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง เป็นเสียงลึกสุขุม. ปญฺจนฺนํ ฐานคตีนํ ทูรฏฺฐานโต ชาตตฺตา คมฺภีโร.
  21. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  22. ครุตฺต : นป., ครุตฺตา อิต. ความเป็นครู, ความเป็นผู้ควรเคารพ, ความเป็นผู้หนัก, ความเป็นของหนัก
  23. ควกฺข : (ปุ.) หน้าต่าง, ช่องลม. วิ. ควํ อกฺขิ ควกฺโข. เอา อิ ที่สุดสมาสเป็น อ (สมา- สนฺตตฺตา อ).
  24. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  25. คีวา : (อิต.) หนี้, สินไหม, สินใช้ (เป็นเหมือน เครื่องผูกคอไว้), คอ. วิ. คายติ เอตายาติ คีวา. คา สทฺเท, อีโว.
  26. คุญฺชา : (อิต.) มะกล่ำ, มะกล่ำตาหนู. คุชฺ สทฺเท, อ, พินฺทวาคโม. คุญฺชา ชื่อมาตรา เงิน หนักเท่ากับเมล็ดมะกล่ำตาหนู. ๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ คุญชา. จตฺตาโร วีหโย สมฺปิณฺฑิตา เอกา ว คุญฺชา.
  27. คูถก : นป. ขี้ (ตา, หู)
  28. โคนงฺค โคนงฺคุล : (ปุ.) ลิงหน้าดำ (ชนี), ชนี, ค่าง. วิ.คุณฺณํ นงฺคสทิสตฺตา นงฺคุลสทิสตฺตา วา โคนงฺโค โคนงฺคุโล วา.
  29. โคปขุม : ค. มีดวงตาเหมือนดวงตาลูกโค
  30. โคปฺผิม : (วิ.) เกิดที่เท้า, มีที่ข้อเท้า. โคปฺผ ศัพท์ อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  31. โคปาณสิ เคปาณสี โคปานสิ โคปานสี : (อิต.) กลอน ไม้กลอน (ไม้ที่พาดบนแป สำหรับวางเครื่องมุงหลังคา เช่น จากที่เย็บ เป็นตับ เป็นต้น), จันทัน ไม้จันทัน (ไม้ เครื่องบนสำหรับรับแปลานหรือระแนง). วิ. คํ วสฺโสทกํ สุริยาทิกิรณํ จ ปิวนฺติ วินาสยนฺติ อพฺภนฺตร มปฺปเวสนวเสนาติ โคปานา. อิฏฺฐกาทโย ; ตานิ สิโนนฺติ พนฺธนฺติ เอตฺถาติ โคปานสี. โคปานปุพฺโพ, สี พนฺธเน, อี.
  32. โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
  33. ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
  34. ฆาเตตาย : (วิ.) ควรฆ่า วิ. ฆาเตตุ อรหตีติ ฆาเตตาโย. อาย หรือ ราย ปัจ. ลบ ตุ.
  35. จกฺขุก : ค. ผู้มีจักษุ, ผู้มีตา, ผู้มีปัญญา
  36. จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
  37. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  38. จกฺขุธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุคือตา. หมายเอาแววตา ประสาทตา.
  39. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  40. จกฺขุโลล : ค. ผู้คะนองตา, ผู้มีสายตา, ผู้อยากเห็นโน่นเห็นนี่
  41. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  42. จกฺขุวิญฺญาณ : นป. จักษุวิญญาณ, ความรู้ที่อาศัยตาเกิดขึ้น
  43. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  44. จกฺขุสฺส : ค. น่าดู, เจริญตา
  45. จตุกฺก : (วิ.) มีปริมาณสี วิ. จตฺตาริ ปริมาณานิ อสฺสาติ จตุกฺกํ กปัจ. สังขยาตัท.
  46. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  47. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  48. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  49. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  50. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0853 sec)