Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 1401-1450
  1. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  2. อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
  3. อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
  4. อพฺภตฺถ : นป. อพฺภตฺถตา, อิต. ความฉิบหาย, ความตั้งอยู่ไม่ได้
  5. อพฺยาเสก : ค. อันเจริญตาเจริญใจ, มีเสน่ห์
  6. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  7. อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
  8. อมูฬฺห : ค. ผู้ไม่หลง
  9. อโมห : (วิ.) ไม่มีความหลง, ไม่โง่เขลา, มีปรีชา
  10. อยฺยก : (ปุ.) ตา, ปู่. อรหฺปูชายํ, ณฺวุ, รหสฺสโย(แปลงรหเป็นย). อยฺคติมฺหิวา. ซ้อน ยฺ.
  11. อราติ : (ปุ.) ข้าศึก.ศัตรู.อรฺคมเน, ติ.ภูวาทิตฺตาอาอาคโม.
  12. อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
  13. อรูปธมฺม : (ปุ.) ธรรมมิใช่รูป, ธรรมที่ไม่มีรูป, อรูปธรรม, นามธรรม (ภาวะที่สัมผัสด้วยอายตนะคือ ตาหูจมูกลิ้นและกายไม่ได้สัมผัสสะได้แต่ใจ).
  14. อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
  15. อวิชฺชา : (อิต.) ความไม่รู้, ความไม่รู้จริง, ความหลงคือไม่รู้จริง, ความเขลา, อวิชชา(ความไม่รู้อริยสัจ ๔).นปุพฺโพ, วิทฺ ญาเณ, โณย, ทฺยสฺสชโช.
  16. อวิทูร : (วิ.) ไม่ไกล, ใกล้.ทูรปฏิปกฺขตฺตาอวิทูรํ.
  17. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  18. อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
  19. อสิเลสา : (อิต.) อสิเสลาชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๙ใน๒๗ กลุ่มมีห้าดวง, ดาวเรือน.วิ.ภุชคสทิสตฺตา น สิลิสฺสเต น อาลิงฺคยํเตติอสิเลสา.ปญฺจตาราจกฺกาการาอสิเลสา.
  20. อสุสุชล : (นปุ.) น้ำของตา, น้ำอันไหลออกจากตา, น้ำตา.ส. อสฺรุ.
  21. อเสจน : (วิ.) ยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิด, ชื่นใจ, ชื่นตา, หน้าตาชื่นบาน, หน้าตาเบิกบาน, ยั่วยวน.จิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอเสจนํนาม.
  22. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  23. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  24. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  25. อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
  26. อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
  27. อาเทส : (ปุ.) การแปลง, การแผลง (สระพยัญชนะและ นิคคหิตตามกฏของบาลีไวยากรณ์), การเปลี่ยนแปลง.อาปุพฺโพ, ทิสฺหึสายํ, อ.ส.อาเทศ.
  28. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  29. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  30. อาหริม : ค. อันนำมา, เป็นเสน่ห์, ล่อให้หลง
  31. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  32. อินฺทวาริณี : (ปุ.) ไม้สะเดา, ต้นขี้กาหลง.
  33. อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
  34. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  35. อีสธร : (ปุ.) อีสธร ชื่อภูเขาสัตตปริภัณฑ์ ลูก ๑ ใน ๗ ลูก, ภูเขาอีสธร. วิ. อีสํ มหิสฺสรํ ธาเรติ ตสฺส นิวาสนฏฺฐาน ตาติ อีสธโร. อีสปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ดู อิสธร ด้วย.
  36. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  37. อุจฺฉุ : (ปุ.) อ้อย วิ. อุสติ สนฺตาปนนฺติ อุจฺฉุ. อุสฺ ทาเห, อุ, สสฺส จฺโฉ. อิสุ อิจฺฉายํ วา, อุ, อุสฺสุ, สสฺส โฉ, อสรูปทฺวิตฺตํ. ส. อักฺษว.
  38. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  39. อุตฺตมค อุตฺตมงฺค : (นปุ.) อวัยวะสูงสุด, หัว, ศรีษะ. วิ. องฺเคสุ อุตฺตมํคตฺตา อุตฺตมํคํ. อุตฺตมํ จ ตํ อํคํ จาติ วา อุตฺตมํคํ วา. ส. อุตฺตมางฺค.
  40. อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ  ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
  41. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  42. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  43. อุปมา : (อิต.) การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ, อุปมา (เป็นไปใกล้ของความวัด). วิ. ยา อจฺจนฺ- ตาย น มิโนติ น วิจฺฉินฺทติ สา มาณาย สมีเป วตฺตตีติ อุปมา. อุปมียติ สทิสีกรียติ เอตายาติ วา อุปมา. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, กวิ, อ วา. ส. อุปมา.
  44. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  45. อุปริม : (วิ.) มีในเบื้องบน, เกิดในเบื้องบน. วิ. อุปริ ภโว ชาโต วา อุปริโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท.
  46. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  47. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  48. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  49. อุพฺพี : (อิต.) แผ่นดิน. วิ. อวติ ภูตานีติ อุพฺพี. อวฺ ปาลเน, อ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี. วิถิณฺณตฺตาวา อุพฺพี.
  50. อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1459

(0.0909 sec)