Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 301-350
  1. อจฺจรอจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจศัพย์หลัง แปลง อ ที่ จเป็น อุ.
  2. อจริม : (วิ.) ไม่หลัง, ไม่ใช่สิ่งสุดท้าย.
  3. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  4. อฏฺฏาลอฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺโพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลังณฺวุ ปัจ.
  5. อฏฺฏาล อฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺ โพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลัง ณฺวุ ปัจ.
  6. อฏฺฐิอฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺสฏฺโฐอสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป.ศัพท์หลัง ก สกัด. ส.อสฺถิอสฺถิก.
  7. อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
  8. อฏนีอฏฺฏนิอฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่เตียง.อฏฺ คมณ, อนี. ยุวา.ศัพท์หลังแปลงฏ เป็นฎฺฎ.
  9. อฏนี อฏฺฏนิ อฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่ เตียง. อฏฺ คมณ, อนี. ยุ วา. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ฎฺฎ.
  10. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  11. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  12. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  13. อณอณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย.อณฺสทฺเท, ศัพท์หลังกสกัด.
  14. อณ อณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย. อณฺ สทฺเท, ศัพท์หลัง ก สกัด.
  15. อณุอนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก.อณฺคติยํ, อุ. ศัพท์หลังแปลงณุเป็นนุ.
  16. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  17. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  18. อตฺถรูป : (นปุ.) รูปของเนื้อความ, เนื้อความ.คำแปลหลัง รูป เป็นศัพท์สกัด.
  19. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  20. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  21. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  22. อติเวล : (วิ.) ล่วงแล้วซึ่งเวลา.วิ.เวลํอติกฺกนฺโตอติเวลโล.กลับบทหน้าไว้หลัง.
  23. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  24. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  25. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  26. อทีน : (วิ.) ผู้ไม่ย่อหย่อน, ผู้ไม่ถอยหลัง, ผู้ไม่ถอยกลับ.
  27. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  28. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  29. อนนฺตร : ก. วิ. ต่อมา, ถัดมา, หลังจากนั้น
  30. อนฺวเทว : อ. ตามหลัง, ภายหลัง
  31. อนินฺทฺริย : (วิ.) ลับหลัง.
  32. อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
  33. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  34. อนุชน : (ปุ.) ชนภายหลัง, คนภายหลัง, คนรุ่นหลัง, อนุชน (คนรุ่นหลังๆ).
  35. อนุชาต : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในภายหลัง, ผู้เกิดตามมา.
  36. อนุฏฺฐุภ : (นปุ.) ความเดือดร้อนภายหลัง, ความเดือดร้อนในภายหลัง, ความเดือดร้อน, ความรำคาญ.
  37. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  38. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  39. อนุรถ : (นปุ.) ภายหลังแห่งรถ.วิ.รถสฺสปจฺฉาอนุรถํ.
  40. อปจฺฉปุริม : ค. ไม่ก่อนไม่หลัง
  41. อปทาน : (นปุ.) เว้นจากอันขาด (ไม่ขาด).ทาน+อปกลับบทหลังไว้หน้าทานสำเร็จรูปมาจากทาอวขณฺฑเน, ยุ.
  42. อปฺปอปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน.วิ.อเปสิอิสกมตฺตมคมาสีติอปฺปํ.อปฺปาปุณเน, โป.อลฺภูสเนวา, โป. ศัพทฺหลังกสกัด.ส.อลฺปก.
  43. อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
  44. อปมารอปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู.วิ.อปคโตสาโรเยนโสอปมาโรอปสฺมา-โรวา.ศัพท์แรก แปลงส เป็น มศัพท์หลังลงมฺอาคมท่ามกลาง.
  45. อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
  46. อปรณฺณ : (นปุ.) อปรัณชาตได้แก่อาหารอื่นจากข้าว มีถั่วงาเป็นต้นที่จะพึงกินภายหลังกินข้าวแล้ว.วิ.ปุพฺพณฺณาทิโตอปรภาเคปวตฺตมณฺณํอปรณฺณํ.
  47. อปรนฺตภาค : ป. อนาคตกาล, กาลภายหลัง
  48. อปรนฺตภาเค : ก.วิ. ในกาลภายหลัง, ในอนาคตกาล
  49. อปรภาค : (วิ.) อันเป็นส่วนอื่นอีก, ภายหลัง (กาล....).
  50. อภิชฺฌาลุอภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิชฌาเป็นปกติ.ศัพท์หลังกสกัด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0801 sec)