Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหตุจูงใจ, จูงใจ, เหตุ , then จูงใจ, หต, เหตุ, เหตุจูงใจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหตุจูงใจ, 198 found, display 151-198
  1. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  2. อการณ : (วิ.) มิใช่เหตุ, ไม่ใช่เหตุ.
  3. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  4. อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
  5. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  6. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  7. อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
  8. อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
  9. อธิกรณ : ก. วิ. เพราะเหตุ, เนื่องจาก
  10. อธิจฺจสมุปฺปนฺน : ค. อันเกิดขึ้นโดยปราศจากเหตุ
  11. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  12. อนฺตรายิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอันตราย, ธรรมอันทำซึ่งอันตราย, เหตุเครื่องขัดข้องต่าง, เหตุขัดข้องต่าง ๆ, ความขัดข้องต่าง ๆอันตรายิกธรรม
  13. อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่วแน่
  14. อนุโลม : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งขน, ตามขนคือตามลำดับได้แก่การพิจารณาจับเหตุไปหาผล หรือจับต้นไปหาปลาย, เป็นไปตาม, คล้อยตาม, เป็นพวก, ไม่ขัดขืน, ตามลำดับ, สะดวก, เหมาะ.ส. อนุโลมอนุโลมนฺ.
  15. อปฺปจฺจย : ๑. ป. ความบูดบึ้ง, ความไม่พอใจ ; ๒. ค. ไม่มีปัจจัย, ไม่มีเหตุ
  16. อปฺปฏิจฺจ : ค. ไม่มีเหตุ, ไม่อาศัยเหตุ
  17. อปายมุข : (นปุ.) เหตุเครื่องความเสื่อม, เหตุแห่งความฉิบหาย, ทางแห่งความเสื่อม, ทางแห่งความฉิบหาย.
  18. อภิสนฺท : (ปุ.) ภาวะอันไหลออกจากเหตุ, ผล, วิบาก.อภิปุพฺโพ, สนฺทฺปสวเน, อ.
  19. อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
  20. อวสร : (ปุ.) คราว, ต้นเหตุ, โอภาส.อวปุพฺโพสรฺคติยํ, อ.ส.อวสร.
  21. อวินาสก, อวินาสิก : ค . ไม่มีเหตุทำให้พินาศ, ไม่ฉิบหาย
  22. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  23. เหตุกทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าไม่มีเหตุ, ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าหาเหตุมิได้.ความเห็นว่าคนเราจะได้ดีหรือว่าได้ร้าย เป็นไปตามเคราะห์ดีหรือเคราะห์ร้ายถึงคราวเคาะห์ดีก็ดีได้เองถึงคราวเคราะห์ร้ายก็ร้ายได้เองจัดเป็นอเหตตุกทิฏฐิ.
  24. เหตุเหตุ : (วิ.) มีเหตุหามิได้, ไม่มีเหตุ.วิ. นตฺถิตสฺสเหตูติอเหตุเหตุโกวา.ศัพท์หลังสกัด.
  25. อาการวนฺต : ค. มีเหตุ, มีผล, มีหลักฐาน
  26. อาคมนการณ : (นปุ.) เหตุคือความมา, เหตุแห่งการมา.
  27. อานิสส : (ปุ.) คัณอันไหลออกเป็นนิตย์จากผล, อานิปุพฺโพ, สนฺทฺปสเว, อ.แปลงนฺเป็นนิคคหิตทเป็นส.คุณเป็นที่ไหลออกโดยยิ่ง.อา+นิ+สนฺทฺ+อปัจ.ผลอันไหลออกจากเหตุดี.อานิ=ผลสํส=ไหลออก.ความดี, คุณ, ประโยชน์, อานิสงส์(ผลแห่งการทำนั้น ๆผลแห่งกุศลผลแห่งความดี).อา-นิปุพฺโพ, สํสฺถุติยํ, อ.
  28. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
  29. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  30. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  31. อุฏฐายก : ก. ผู้มีความเพียรเป็นเหตุให้ลุกขึ้น, ผู้ขยัน
  32. อุปธิก : ค. มีอุปธิ, มีเครื่องผูกพัน, มีกิเลสเป็นเหตุให้เวียนเกิด
  33. อุปนิสา : (อิต.) เหตุ, ข้อลี้ลับ, ข้อลับ. วิ. อุปนิสีทติ ผลํ เอตฺถาติ อุปนิสา. การเณ รหสิปิ อุปนิสา. อุป นิ ปุพฺโพ, สิทฺ วิสรเณ, อ, ทฺโลโป.
  34. อุปาทานปจฺจย : ป. ปัจจัยคืออุปาทาน, เหตุอันเกิดจากความยึดถือ
  35. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  36. อปฺปติ (ฏิ) หต : ค. ไม่ถูกกระทบ, ไม่ถูกทุบ
  37. หตวกาส : (วิ.) มีปัจจัยเป็นเครื่องตั้งลงอันขจัดแล้ว, หมดโอกาส, หมดหนทาง, หมดช่องทาง.
  38. ปฏิหต : กิต. (อันเขา) กระทบแล้ว, ทำให้สะเทือนแล้ว, กำจัดแล้ว
  39. สมาหต : กิต. กระทบแล้ว, ฆ่าแล้ว
  40. หติ : (อิต.) ความเบียดเบียน. วิ. หนนํ หติ. หนฺ หึสายํ, ติ, นฺโลโป.
  41. หิต : (นปุ.) ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. หิ. วุฑฺติยํ, โต.
  42. หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
  43. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  44. หูติ : (อิต.) การเรียก. หู อว.หาเน, ติ.
  45. โหติ : ก. มี, เป็น
  46. อุปหต : กิต. ทำร้ายแล้ว, ทำให้เสียหายแล้ว
  47. กรกา : (อิต.) ลูกเห็บ (เมล็ดน้ำแข็งที่ตกจาก อากาศ เมฆที่ละลายไม่หมด). กเรน หตฺ เถน คยฺหุปคตฺตา กรกา. ส. กรก.
  48. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-198]

(0.0436 sec)