Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวโจมตี, โจมตี, กล่าว , then กลาว, กล่าว, กลาวจมต, กล่าวโจมตี, โจมตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวโจมตี, 320 found, display 301-320
  1. อุทิต : กิต. ขึ้นไปแล้ว, โผล่ขึ้นแล้ว, ผุดขึ้นแล้ว; กล่าวแล้ว, แสดงแล้ว, ประกาศแล้ว
  2. อุทีรณ : นป. การเปล่ง, การกล่าว
  3. อุปกฺกฏฐ : กิต. กล่าวโทษแล้ว, ติเตียนแล้ว
  4. อุปกฺโกส : (ปุ.) การกล่าวโทษ. อุปปุพฺโพ, กุสฺ อวฺหาเณ, โณ. บาลีเป็น ปโกส.
  5. อุปกฺโกสติ : ก. ด่าว่า, ติเตียน, กล่าวโทษ
  6. อุปกาส : (ปุ.) การกล่าวโทษ, การอดข้าว, จำศีล.
  7. อุปโยควจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกประกอบ, การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกทำ, ทุติยาวิภัติ.
  8. อุปวาท : (ปุ.) การเข้าไปว่าร้าย, การกล่าว โทษ. วิ. โทสกฺขาเณน วทนํ อุปวาโท. อุปปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณ.
  9. อุปารมฺภติ : ก. ตำหนิ, โต้แย้ง, กล่าวค้าน
  10. อุลฺลปน : (นปุ.) คำอัน...กล่าวขึ้น, คำกล่าว อ้าง, การกล่าวอ้าง, การเรียกร้อง. อุปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, ยุ.
  11. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  12. เอกวจน : (นปุ.) คำกล่าวถึงสิ่งเดียว, การกล่าวถึงสิ่งสิ่งเดียว, คำที่กล่าวถึงสิ่งสิ่ง เดียว, เอกวจนะ.
  13. เอฬ : (วิ.) ไม่กล่าว, ไม่พูด, พูดไม่ได้.
  14. โอภาสติ : ก. ๑. โอภาส, ปราศรัย, กล่าวโทษ, เย้ยหยัน, ด่า, พูดคัดค้าน; ๒. ส่องแสง, รุ่งโรจน์
  15. โอมสวาท : (ปุ.) คำพูดทิ่มแทง, คำกล่าวทิ่ม แทง, คำพูดเสียดแทง, คำกล่าวเสียดแทง. คำกล่าวเสียดแทงให้เจ็บใจ. คำด่า, โอมส+วาท.
  16. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  17. โอวาท : (ปุ.) การกล่าวสอน, ฯลฯ. วิ. โอวทนํ โอวาโท. ณ ปัจ ส. อววาท.
  18. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  19. กุลาว : (ปุ.) นกกรด ?
  20. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-320]

(0.0402 sec)