Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ร่วมทุกข์, ทุกข์, ร่วม , then ทกข, ทุกข, ทุกข์, รวม, ร่วม, รวมทกข, ร่วมทุกข์ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ร่วมทุกข์, 349 found, display 251-300
  1. ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
  2. คทา : (อิต.) ตะบอง, ไม้ตะบอง, ไม้พลอง, ศัตรา. วิ. คํ วุจฺจติ วชิรํ, ตํ วิย ทุกฺขํ ททาตีติ คทา. อาวุธกุเวร วิ. อสฺส กุเวรสฺส ปหรณํ อาวุธํ คทา.
  3. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  4. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  5. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  6. โคฬปตฺต : (นปุ.) กระหล่ำปลี.เบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, ณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  7. ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
  8. ฆฏฏน : นป. การทุบ, การตี, การต่อย; การขัดสี, การว่าเสียดสี; การนำมารวมกัน
  9. ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
  10. ฆฏนา : (อิต.) ความหมั่น, ความขยัน. มฏฺวายามกรเณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, การเชื่อม. ฆฏฺ สงฺฆาเต. การตี, การเบียดเบียน, การฆ่า, การประหาร ฆฏฺ หนเน, ยุ ปัจ.
  11. ฆาฏ : (ปุ.) การฆ่า, การฆ่าฟัน, การตี, การประหาร, การทำลาย, การกำจัด, การเบียดเบียน. ฆฏฺ หึสายํ, โณ. การรวมกัน, การติดต่อกัน, ต้นคอ, ท้ายทอย. ฆฏฺ สํฆาเต, โณ.
  12. จิตฺตสโมธาน : นป. ความรวมลงพร้อมแห่งจิต, ความพร้อมเพรียงแห่งจิต, ความแน่วแน่แห่งจิต
  13. ชจฺจ : (นปุ.) ความเกิด, ความบังเกิด, กำเนิด. ชาติ. ชนฺ ชนเน, โย. แปลง นฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แล้วแปลงเป็น จฺจ.
  14. ชจฺจนฺธ : (วิ.) บอดแต่กำเนิด, บอดโดยกำเนิด. วิ ชาติยา อนฺโธ ชจฺจนฺโธ. ชาติ+อนฺธ สำเร็จโดยวิธีสนธิดังนี้ แปลง อิ เป็น ย เป็น ชาตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ รัสสะ อา เป็น อ รวมเป็น ชจฺจนฺธ รูปฯ ๓๓๖.
  15. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  16. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  17. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  18. ทกฺขิต ทิกฺขิต : (วิ.) ผู้บวช, ผู้ประพฤติพรต. ทกฺขฺ ทิกฺขฺ วา มุณฺฑิเย, โต, อิอาคโม.
  19. ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
  20. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  21. ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
  22. ทิกฺขา : (อิต.) การบูชา, การเซ่นสรวง. ทิกฺข ธาตุในความบูชา ฯลฯ, อ ปัจ. อา อิต.
  23. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  24. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  25. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  26. ทุรนุโพธ : (วิ.) อัน...รู้ตามได้โดยยาก, อัน...บรรลุตามได้โดยยาก, ฯลฯ. วิ. ทุกฺเขน อนุพุชฺฌิตพฺโพติ ทุรนุโพโธ. ทุกฺข +อนุ+พุธฺ+ ข ปัจ. รฺ อาคม รูปฯ ๕๘๙.
  27. โทมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ความเป็นผู้มีใจชั่ว. วิ. ทุมนสฺส ภาโว โทมนสฺสํ. ทุมน+ณฺย ปัจ. สฺ อาคม รวมเป็น ทุมนสฺ+ณฺย พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณุ แปลง สฺย เป็น สฺส หรือ แปลง ย เป็น ส ก็ได้ รูปฯ ๓๗๑ หรือไม่ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส ซ้อน สฺ ก็ได้.
  28. ธุรการ : (ปุ.) การทำซึ่งหน้าที่, การทำหน้าที่, ธุรการ ชื่อบุคคลผู้ทำงานฝ่ายปกครอง มีหน้าที่เป็นแม่บ้านของหน่วยงานนั้นๆ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของการจัดกิจการ โดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานฝ่ายวิชาการ.
  29. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  30. นชฺโช : (อิต.) แม่น้ำ ท. นทีศัพท์ โยวิภัติ แปลง อี เป็น ย รวมเป็น นทฺย แปลง ทฺย เป็น ช แปลง ช เป็น ชฺช หรือแปลง ทฺย เป็น ช ซ้อน ชฺ หรือแปลง ทฺย เป็น ชฺช แปลงโยเป็น โอ เป็นการต่อศัพท์กับวิภัติ รูปฯ ๑๘๘.
  31. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  32. นิปฺปเทส : ค. ซึ่งรวมกัน, ซึ่งไม่แยกออกจากกัน
  33. นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
  34. ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
  35. ปริสา : อิต. บริษัท, หมู่, คนรวมกัน
  36. ปวิวตฺต : กิต. แยกออก, ไม่รวมกัน, สงบสงัด
  37. ปิณฺเฑติ : ก. ทำให้เป็นก้อน, รวมกันเข้า, ผสมกัน
  38. โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
  39. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  40. มคฺคุร : (ปุ.) ปลาลำพัน ชื่อปลาชนิดหนึ่ง มีครีบหลังและครีบก้นไปรวมกับครีบหาง. ปลาดุกลำพัน ก็เรียก.
  41. มธุโกส : (ปุ. นปุ.) รวมแห่งผึ้ง, รวงผึ้ง.
  42. มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
  43. มมฺม, มมฺมฏฺฐาน : นป. จุดสำคัญของร่างกาย, ที่รวมประสาท
  44. มหามจฺจาลย : (ปุ.) สำนักนายกรัฐมนตรี คือที่ทำ งานของอำมาตย์ผู้ใหญ่ เป็นศูนย์รวมงานของประเทศ.
  45. มหายุค : (ปุ.) ยุคใหญ่, มหายุค คือยุคทั้ง ๔ รวมกัน ยุคทั้ง ๔ นั้นคือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และ กลียุค.
  46. มหาสาวก : (ปุ.) พระสาวกผู้ใหญ่ เว้นพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เพราะสองท่านนี้ท่านเป็นพระอัครสาวก. แต่คำว่าพระมหาสาวก ๘๐ ก็รวมด้วย.
  47. มานส : (วิ.) มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มานสํ (สุขํ วา ทุกฺขํ วา). ณ ปัจ. สฺ อาคม รูปฯ ๓๖๒.
  48. มิถุ : (นปุ.) การรวมกัน, การมารวมกัน, คู่. มิถฺ สงฺคเม, อุ.
  49. เมฆ : (ปุ.) เมฆ ชื่อไอน้ำที่รวมกันเป็นก้อนลอยอยู่ในอากาศ วิ. มิหติ โลกํ วสฺส ธาราหีติ เมโฆ. มิหฺ เสจเน, โฆ. แปลง อิ เป็น เอ ลบ หฺ.
  50. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-349

(0.0449 sec)