Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความระวัง, ระวัง, ความ , then ความ, ความระวัง, รวง, รวํ, ระวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความระวัง, 3720 found, display 2851-2900
  1. อนุทฺทยา : อิต. ความเอ็นดู, ความเอื้อเฟื้อ
  2. อนุทยาอนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู.วิ.อนุทยติปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจหึสตีติอนุทยาอนุทฺทยาวา.อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  3. อนุทยา อนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู. วิ. อนุทยติ ปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ อนุทยา อนุทฺทยา วา. อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  4. อนุธมฺมตา : อิต. ความเป็นธรรมอันสมควร, ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
  5. อนุนย : (ปุ.) ความไปตาม, ความพอใจ.อนุปุพฺโพ, นยฺนยเน, อ.
  6. อนุปฏิปาฏิ, - ติ : อิต. ลำดับ, ความสืบต่อ
  7. อนุปฏิปาฏิยา : ก. วิ. ตามลำดับ, โดยความสืบเนื่องกัน
  8. อนุปติตตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกจู่โจมหรือติดตาม
  9. อนุปนาห : ป. ความไม่ผูกโกรธ
  10. อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่วแน่
  11. อนุปพนฺธนตา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  12. อนุปพนฺธนา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  13. อนุปริวตฺติ : อิต. ความหมุนไปมารอบๆ; ความเกี่ยวข้องด้วย
  14. อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
  15. อนุปวิฏฺฐตา : อิต. ความเป็นผู้เข้าไปตาม, ความเป็นของไหลเข้าไป
  16. อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
  17. อนุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็น, การเพ่งเล็ง, การพิจารณา, การพิจารณาเห็น, การพิจารณาเนืองๆ, ความตามเห็น, ฯลฯ, อนุปัสสนาพิจารณาด้วยปัญญา, ปัญญา.อนุปสฺสนาวุจฺจติปญฺญา.ไตร. ๓๐/๘๐/๑๖๐.
  18. อนุปาทาน : ค. ไม่มีอุปทาน, ไม่มีความยึดมั่น
  19. อนุปาทานิย : ค. ผู้ไม่มีความยึดมั่น
  20. อนุปายาส : ค. อันไม่มีความคับแค้นใจ
  21. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  22. อนุปิย : ๑. นป. ความพอใจ; การประจบสอพลอ; ๒. ค. อันพอใจ; ซึ่งประจบสอพลอ
  23. อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
  24. อนุปุพฺพนิโรธ : (ปุ.) ความดับโดยลำดับ.
  25. อนุโพธ : ป. ความตรัสรู้ตาม, ความเข้าใจตาม
  26. อนุภวน : (นปุ.) การเสวย, ความเสวย, ความประสบ, ความรู้สึก.
  27. อนุภาว : ป. อานุภาพ, กำลังอำนาจ, ความยิ่งใหญ่
  28. อนุภาวตา : อิต. ความเป็นผู้มีอานุภาพ, ความเป็นผู้มีอำนาจ
  29. อนุภาวอานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า).ส. อนุภาว.
  30. อนุภาว อานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า). ส. อนุภาว.
  31. อนุภูยมานตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกกิน, ความเป็นผู้ถูกเสพ, ความเป็นผู้ถูกเสวย
  32. อนุมัติ : (อิต.) ความรู้ตาม, ความเห็นชอบตาม, ความเห็นดีตาม, ความยอมตาม, ความยินยอม, การอนุญาต.ส. อนุมัติ.
  33. อนุมาน : (ปุ. นปุ.) ความนับตาม, ความกำหนดตาม, การตามกำหนด, การหมั่นกำหนด, การคาดหมาย, การคาดคะเน, ความนับตามฯลฯ.ส. อนุมาน.
  34. อนุโมทก : ค. ผู้อนุโมทนา, ผู้แสดงความยินดี
  35. อนุโมทติ : ก. อนุโมทนา, ชื่นชม, แสดงความยินดี
  36. อนุโมทน : นป. การอนุโมทนา, การแสดงความชื่นชม, การแสดงความยินดี
  37. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  38. อนุยายี : (วิ.) มีความหวั่นใจ, ผู้ติดตาม.
  39. อนุโยค : (ปุ.) วาทะเครื่องประกอบตาม, วาทะเครื่องตามประกอบ, การซักไซ้, การซักถาม, คำถาม, การถาม, การประกอบความเพียร.ส. อนุโยค.
  40. อนุรกฺข : (ไตรลิงค์) การถนอมตาม, การตามถนอม, การตามระวัง, การตามรักษา.ส.อนุรุกฺษ.
  41. อนุโรธนา : (อิต.) ความคล้อยตาม ฯลฯ.
  42. อนุโรธนา ป : (ปุ.) ความคล้อยตาม ฯลฯ.
  43. อนุวชฺช : ค. ความตำหนิ, การกล่าวโทษ
  44. อนุวตฺตน : นป. การอนุวัตรตาม, ความคล้อยตาม
  45. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  46. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  47. อนุวิจฺฉา : (อิต.) ความอยากบ่อยๆ, ความอยากร่ำไป.อนุปุพฺโพ, อิสุอิจฺฉายํ, อแปลงทฺยเป็นชฺชกสกัด.
  48. อนุสนฺธิ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องต่อตาม, กถาเป็นเครื่องต่อตาม, ความต่อตาม, การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง, การต่อตามลำดับ, การติดต่อ, การต่อ.อนุสํบทหน้าธาธาตุอิปัจ.ส.อนุสํธิ.
  49. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  50. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | [2851-2900] | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3720

(0.1256 sec)