Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 2351-2400
  1. สมฺปิณฺฑน : (นปุ.) การรวบรวม, การประมวล, ความประมวล. สำปุพฺโพ, ปิฑิ สงฺฆาเต, ยุ.
  2. สมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องด้วยดี, การถูกต้อง, การกระทบ, การกระทบกัน, การลูบคลำ, ความถูกต้อง, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, ผุส. สมฺผสฺเส, อ. ผุสสฺส ผสฺโส.
  3. สมฺผสฺสชาเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเกิดจากสัมผัส, ความเสวยอารมณ์ที่เกิดจากสัมผัส.
  4. สมฺพนฺธ : (ปุ.) การผูกพร้อม, การผูกด้วยดี, การผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, ฯลฯ, สัมพันธ์. สํปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ.
  5. สมฺพรี : (อิต.) การลวง, การล่อลวง, การเล่นกล, ความลวง, ความล่อลวง. วิ. มายา เอว สมฺพโร ตสฺสายนฺติ สมฺพรี. ณี ปัจ.
  6. สมฺพุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้พร้อม, ความรู้ด้วยดี, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. สํปุพฺโพ, พุธ อวคมเน. ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ขฺฌ ยุ เป็น อน.
  7. สมฺโพชฺฌ : (ปุ.) ความรู้พร้อม, ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ ณ ปัจ.
  8. สมฺโพธน : นป. การตรัสรู้ชอบ, ความรู้ชอบ
  9. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  10. สมฺภวน : นป. ความมี, ความเป็น, ความเจริญ
  11. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  12. สมฺภาวน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
  13. สมฺภาวนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
  14. สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
  15. สมฺม : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, ผู้มีความเสมอ, ผู้มีความเป็นผู้เสมอ, ผู้มีธุระเสมอ, ผู้มีธุระเสมอกัน.
  16. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  17. สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
  18. สมฺมทญฺญา : อิต. ความรู้ชอบ
  19. สมฺมทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์โดยชอบ, เนื้อความโดยชอบ, อรรถโดยชอบ. วิ. สมฺมา อตฺโถ สมฺมทตฺโถ. รัสสะ อา เป็น อ ทฺ อาคม. ต. ตัป.
  20. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  21. สมฺมปฺปธานวิริย : (นปุ.) ความเพียรอัน...ตั้งไว้โดยชอบ, ฯลฯ.
  22. สมฺมสน : (นปุ.) การลูบคลำ, ความลูบคลำ. สํปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ.
  23. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  24. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  25. สมฺมาทิฏฺฐิ : อิต. ความเห็นชอบ
  26. สมฺมาน : (ปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  27. สมฺมานน : (นปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  28. สมฺมานนา : (อิต.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
  29. สมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติดี, การปฏิบัติชอบ, การปฏิบัติโดยชอบ, ความปฏิบัติดี, ฯลฯ.
  30. สมฺมาวตฺตนา : (อิต.) การเป็นไปโดยชอบ, ความเป็นไปโดยชอบ, การประพฤติชอบ, ความประพฤติชอบ.
  31. สมฺมาวายาม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเพียรชอบ วิ. สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ สมฺมาวายาโม. สมฺมาปุพฺโพ, วายมฺ อีหายํ, โณ. ความเพียรชอบ. วิ. สมฺมา วายาโม สมฺมาวายาโม. วิเสสยบุพ, กัม.
  32. สมฺมาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริโดยชอบ. ต. ตัป. ความดำริชอบ. วิเสสนบุพ. กัม.
  33. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  34. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  35. สมฺมาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตชอบ, ความตั้งใจมั่นชอบ, ความตั้งใจไว้ชอบ, ความตั้งใจชอบ.
  36. สมฺมุขตา : (อิต.) ความพร้อมหน้า.
  37. สมฺมุขีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีหน้าพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมหน้า, ความเป็นผู้พร้อมหน้า.
  38. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  39. สมฺโมทก : ค. ผู้ให้ความบันเทิง
  40. สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
  41. สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
  42. สมฺโมส : (ปุ.) ความเผลอเรอ, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, โณ.
  43. สมฺโมส, - โมห : ป. ความหลงลืม
  44. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  45. สมร : (ปุ. นปุ.) การรบ, การรบพุ่ง, การรบพุ่งกัน, สงคราม, การสงคราม. สํปุพฺโพ, อรฺ คมเน. อ. ไทย สมร(สะหมอน) ใช้ในความหมายว่านางในดวงใจ นางงาม นางซึ่งเป็นที่รัก สันสกฤตใช้เป็นคำเรียกกามเทพ แปลว่า ความรัก. ส. สมร.
  46. สมสฺสาส : ป. ความโล่งใจ, ความปลอดโปร่ง, ความสดชื่น
  47. สมาจรณ : นป., สมาจาร ป. ความประพฤติชอบ
  48. สมาจาร : (ปุ.) มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อด้วยดี, มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อสม่ำเสมอ, ความประพฤติดี, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติชอบ, มารยาทดี, มารยาทที่ดี, มารยาทเรียบร้อย. ส. สมาจาร.
  49. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  50. สมานฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจร่วมกัน, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | [2351-2400] | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1358 sec)