Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสามารถ, สามารถ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสามารถ, 3735 found, display 2901-2950
  1. อนุภาว : ป. อานุภาพ, กำลังอำนาจ, ความยิ่งใหญ่
  2. อนุภาวตา : อิต. ความเป็นผู้มีอานุภาพ, ความเป็นผู้มีอำนาจ
  3. อนุภาวอานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า).ส. อนุภาว.
  4. อนุภาว อานุภาว : (ปุ.) อำนาจ, กำลัง, อนุภาพ, อานุภาพ (ความสง่า). ส. อนุภาว.
  5. อนุภูยมานตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกกิน, ความเป็นผู้ถูกเสพ, ความเป็นผู้ถูกเสวย
  6. อนุมัติ : (อิต.) ความรู้ตาม, ความเห็นชอบตาม, ความเห็นดีตาม, ความยอมตาม, ความยินยอม, การอนุญาต.ส. อนุมัติ.
  7. อนุมาน : (ปุ. นปุ.) ความนับตาม, ความกำหนดตาม, การตามกำหนด, การหมั่นกำหนด, การคาดหมาย, การคาดคะเน, ความนับตามฯลฯ.ส. อนุมาน.
  8. อนุโมทก : ค. ผู้อนุโมทนา, ผู้แสดงความยินดี
  9. อนุโมทติ : ก. อนุโมทนา, ชื่นชม, แสดงความยินดี
  10. อนุโมทน : นป. การอนุโมทนา, การแสดงความชื่นชม, การแสดงความยินดี
  11. อนุยายี : (วิ.) มีความหวั่นใจ, ผู้ติดตาม.
  12. อนุโยค : (ปุ.) วาทะเครื่องประกอบตาม, วาทะเครื่องตามประกอบ, การซักไซ้, การซักถาม, คำถาม, การถาม, การประกอบความเพียร.ส. อนุโยค.
  13. อนุโรธนา : (อิต.) ความคล้อยตาม ฯลฯ.
  14. อนุโรธนา ป : (ปุ.) ความคล้อยตาม ฯลฯ.
  15. อนุวชฺช : ค. ความตำหนิ, การกล่าวโทษ
  16. อนุวตฺตน : นป. การอนุวัตรตาม, ความคล้อยตาม
  17. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  18. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  19. อนุวิจฺฉา : (อิต.) ความอยากบ่อยๆ, ความอยากร่ำไป.อนุปุพฺโพ, อิสุอิจฺฉายํ, อแปลงทฺยเป็นชฺชกสกัด.
  20. อนุสนฺธิ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องต่อตาม, กถาเป็นเครื่องต่อตาม, ความต่อตาม, การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง, การต่อตามลำดับ, การติดต่อ, การต่อ.อนุสํบทหน้าธาธาตุอิปัจ.ส.อนุสํธิ.
  21. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  22. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  23. อนุสฺสติ : (อิต.) อันระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ, ความระลึกตาม, ความระลึกถึง, ความระลึก.วิ. อนุ ปุนปฺปุนํสรณํ อนุสฺสติ
  24. อนุสฺสรณ : (นปุ.) ความระลึกเนืองๆ, ฯลฯ, อนุสรณ์(เครื่องระลึกที่ระลึก). ส.อนุสรณ.
  25. อนุสฺสุก : ค. ไม่มีความขวนขวาย, ไม่กระตือรือร้น
  26. อนุโสจน : นป. ความเศร้าโศก, ความรำพึงถึง
  27. อนุฬารตฺต : นป. ความไม่ใหญ่โต, ความเป็นของเล็ก
  28. อนูนตา : อิต. ความไม่บกพร่อง, ความไม่ขาด
  29. อเนกปสงฺค : (วิ.) มีความต้องการมิใช่อย่างเดียว, มีความปราถนามิใช่อย่างเดียว, หลายอย่างตามความต้องการ.
  30. อเนกสคาห : (ปุ.) ความคลางแคลง, ความสงสัยความรังเร, ความไม่แน่ใจ.
  31. อเนกสิกตา : อิต. ความไม่แน่นอน, ความข้องใจ
  32. อเนช : ค. ไม่มีตัณหา, ไม่มีความอยาก
  33. อเนญฺช : (วิ.) มิใช่ความหวั่นไหว, ไม่หวั่นไหว, ไม่สะเทือน, หาโลภมิได้, ไม่โลภ.
  34. อเนฺวส : (ปุ.) การตามแสวงหา, การแสวงหา, การค้นหา, ความตามแสวงหา, ฯลฯ.
  35. อเนฬ : ค. ๑.ไม่มีโทษ, ไม่มีความผิด; ๒. บริสุทธิ์
  36. อโนตฺตปฺป : นป. ความไม่เกรงกลัวต่อบาป
  37. อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  38. อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  39. อโนวสฺส : นป. ความไม่มีฝน, ความแห้งแล้ง
  40. อโนสกฺกนา : อิต. ความไม่ท้อถอย
  41. อปจยคามี : ค. ถึงความเสื่อม, ไปสู่ความเสื่อม
  42. อปจยอปจฺจย : (ปุ.) ความสิ้นไป, ความหมดไป, ความฉิบหาย.อปปุพฺโพ, จิจีวาจเย, อ.
  43. อปจย อปจฺจย : (ปุ.) ความสิ้นไป, ความหมด ไป, ความฉิบหาย. อปปุพฺโพ, จิ จี วา จเย, อ.
  44. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  45. อปจายนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติถ่อมตน, สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติอ่อนน้อมแก่ผู้ใหญ่.
  46. อปจาร : ป. ความเสื่อม, โทษ, การกระทำผิด
  47. อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
  48. อปจินน : นป. ความพินาศ, ความเสื่อม
  49. อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
  50. อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | [2901-2950] | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3735

(0.1659 sec)