Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความสามารถ, สามารถ, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความสามารถ, 3735 found, display 3051-3100
  1. อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  2. อภินิเวส : ป. ความยึดมั่น, ความโน้มน้าว, ความประสงค์
  3. อภินีหาร : ป. ๑. การนำออก; ๒. ความปรารถนาที่ตั้งใจจริง
  4. อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
  5. อภิปฺปโมท : ป. การบันเทิง, ความปราโมทย์ยิ่ง
  6. อภิปฺปสาท : ป. ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ
  7. อภิปูรณต : นป. ความเต็ม, ความสมบูรณ์
  8. อภิภวน : (นปุ.) การครอบงำ, การกดขี่, ความครอบงำ, ความกดขี่.
  9. อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  10. อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
  11. อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
  12. อภิโยคี : ป. ผู้ปฏิบัติ, ผู้ประกอบความเพียร, ผู้ใคร่ครวญ
  13. อภิโยพฺพน : นป. ความเป็นหนุ่มสาวยิ่ง
  14. อภิรตตฺต : นป. ความเป็นผู้ยินดียิ่ง, ความเป็นผู้ชอบใจยิ่ง
  15. อภิรติ : (อิต.) ความยินดียิ่ง, อภิรตี, อภิรดี.ส. อภิรติ.
  16. อภิรทฺธิ : อิต. ความพอใจ, ความยินดียิ่ง
  17. อภิรมน : นป. ความอภิรมย์, ความยินดียิ่ง
  18. อภิรมาปน : นป. ความให้ยินดียิ่ง, ความให้เพลิดเพลิน
  19. อภิรุ : (วิ.) ไม่มีความขลาด, ไม่ขลาด, ไม่กลัว.
  20. อภิรุจิ : อิต. ความยินดี, ความพอใจ, ความปรารถนา
  21. อภิโรปน : (นปุ.) การบำรุง, ความบำรุง.
  22. อภิลกฺขิตตฺต : นป. ความเป็นคืออันกำหนด, ความตั้งใจไว้
  23. อภิลาส : (ปุ.) อภิลาสะชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความโลภยิ่ง, ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน.อภิปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, โณ.ส.อภิลาษ.อภิลาส.
  24. อภิลาสา : อิต. ความปรารถนา, ความอยาก
  25. อภิวฑฺฒน : นป. อภิวฑฺฒิ, อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความงอกงาม
  26. อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
  27. อภิวิราเคติ : ก. คลายความกำหนัด, หมดความยินดี
  28. อภิวุทฺธิ : อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความเพิ่มขึ้น
  29. อภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง, ความปรุงแต่ง.ณ ปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺแล้วทีฆะ.
  30. อภิสญฺเจตยิต : นป., กิต. ความตริตรอง, ความมุ่งหมาย, ความตั้งใจ
  31. อภิสญฺญา : อิต. ความจำได้หมายรู้
  32. อภิสนฺถว : (ปุ.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี
  33. อภิสนฺถวนา : (อิต.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี.
  34. อภิสนฺทิ : อิต. อัชฌาสัย, ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย
  35. อภิสนฺธิ : (อิต.) ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย, อัธยาศัย.วิ.จิตฺเตอภิสนฺ-ธายเตติอภิสนฺธิ.อภิสํปุพฺโพ, ธาธาร-เณ, อิ.
  36. อภิสมฺพุทฺธตฺต : นป. ความตรัสรู้
  37. อภิสมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ยิ่ง, ความตรัสรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  38. อภิสมฺภิณาติ : ก. สามารถถึง, บรรลุ, ได้รับ, ตรัสรู้
  39. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  40. อภิสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบยิ่ง, ความประพฤติอันดี, มารยาทอันดี, อภิสมาจารคือ ธรรมเนียมของภิกษุ ขนบธรรมเนียมของภิกษุมารยาทอันดีงามของภิกษุเป็นสิกขาบทที่มานอกพระปาติโมกข์ ปรับอาบัติ๒อย่างคือถุลลัจจัยมีห่าง ๆ และ ทุกกฏเป็นพื้น.
  41. อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
  42. อภิหาร : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การเคราพ, การบูชาการเคราพบูชา.ความเคราพ, ฯลฯ, ความนับถือ.อภิปุพฺโพ, หรฺ อปนยเน, โณ.
  43. อภุ : (นปุ.?)ความไม่เจริญ, ความเสื่อม.นปุพฺโพ, ภู วฑฺฒเน, อ. รัสสะอูเป็นอุ.
  44. อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง; ๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
  45. อมจฺจุเธยฺย : นป., ค. ไม่ใช่บ่วงของมาร, ไม่ใช่เขตของความตาย
  46. อมจฺฉรอมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
  47. อมจฺฉร อมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
  48. อมต : (วิ.) ไม่มีความตาย, ไม่ตาย.น+มรฺ+ตปัจ.ไม่รู้แล้ว, ไม่รู้.น+มนุ+ตปัจ.ลบที่สุดธาตุ.อมต(ไตรลิงค์)มะขามป้อม.
  49. อมตฺตญฺญุตา : อิต. ความไม่รู้จักประมาณ
  50. อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | [3051-3100] | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3735

(0.0941 sec)