Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวเนื่อง, เนื่อง, เกี่ยว, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวเนื่อง, 3847 found, display 1151-1200
  1. โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
  2. โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
  3. โทสกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งโทสะ
  4. โทสโทส : ค. มีโทสะเป็นโทษ, มีความขัดเคืองเป็นเหตุให้เสียหาย
  5. โทสนิย, - นีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งโทสะ, ซึ่งก่อให้เกิดความขัดเคือง
  6. โทสาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความไม่ แช่มชื่น, ความลำเอียงเพราะความไม่ชอบ, ความลำเอียงเพราะไม่ชอบกัน, โทสาคติ. อคติ ๔ ข้อที่ ๒.
  7. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  8. ธญฺชน : (นปุ.) การไป, ความไป, ธชฺ คติยํ, ยุ, นิคฺคหิคาคโม.
  9. ธนกฺขย : นป. ความสิ้นไปแห่งทรัพย์สมบัติ
  10. ธนตฺต : นป. ความเป็นผู้อยากได้ทรัพย์
  11. ธนาตฺติ : (อิต.) การบังคับในเพราะเงิน, การบังคับเกี่ยวกับเงิน, ธนาณัติ คือการส่งเงินทางไปรษณีย์ตราสารซึ่งไปรษณีย์แห่งหนึ่งส่งไปให้ไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งตามที่ผู้ส่งเงินต้องการให้ส่ง.
  12. ธนาสา : อิต. ความหวังในทรัพย์, ความปรารถนาทรัพย์
  13. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  14. ธมฺมคารว : (วิ.) มีความเคารพซึ่งธรรม, ฯลฯ.
  15. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  16. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  17. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  18. ธมฺมฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่แห่งธรรม, สภาพความเป็นจริงแห่งพระธรรม
  19. ธมฺมฐตตา : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย. ตาปัจ. สกัด.
  20. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  21. ธมฺมตฺถเทสนา : อิต. การแสดงธรรมหรือความหมายแห่งข้อธรรม
  22. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  23. ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
  24. ธมฺมทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งธรรม, การให้ซึ่งความรู้, การให้ธรรม, การให้ความรู้.
  25. ธมฺมทินฺน : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งธรรม, ผู้ให้ซึ่งความรู้, ผู้ให้ธรรม, ผู้ให้ความรู้. วิ. ธมฺมํ ททาตีติ ธมฺมทินโน. ธมฺม+ทา+ตปัจ. แปลง ต เป็น อินฺน รูปฯ ๕๙๓.
  26. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  27. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  28. ธมฺมปชฺโชต : ป. ความโชติช่วงแห่งธรรม, ความรุ่งเรืองแห่งธรรม
  29. ธมฺมปฏิสมฺภิณาฌ : (นปุ.) ความรู้ (ปัญญา) อันแตกฉานในเหตุที่ทำให้เกิด ผล
  30. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  31. ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
  32. ธมฺมภูติ : (อิต.) ความเป็นเพียงดังเหตุ, ความรุ่งเรืองด้วยธรรม, ฯลฯ.
  33. ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
  34. ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
  35. ธมฺมรติ : (อิต.) ความยินดีในธรรม.
  36. ธมฺมรส : (ปุ.) รสแห่งธรรม, รสของธรรม, รส อันเกิดแล้วจากธรรม, ธรรมรส (ความชื่นชมยินดี ความอิ่มใจ ความพอใจ อัน เกิดจากการปฏิบัติตามธรรม).
  37. ธมฺมรุจิ : (อิต.) ความพอใจในธรรม, ความชอบใจนะรรม, ความยินดีในธรรม.
  38. ธมฺมวิตกฺก : ป. ธรรมวิตก, ความตรึกในธรรม, ความตรึกถึงธรรม
  39. ธมฺมสญฺญา : (อิต.) ความรู้ว่าธรรม วิ. ธมฺมํ อิติ สญฺญา ธมฺมสญฺญา.
  40. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  41. ธมฺมสามิสฺสร ธมฺมสฺสามิสฺสร : (วิ.) ผู้เป็น ใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของแห่งธรรม.
  42. ธมฺมสุธมฺมตา : อิต. ความวิเศษหรือความดีเด่นแห่งธรรม
  43. ธมฺมโสณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ต้องการความเป็นธรรม
  44. ธมฺมาธิปเตยฺย : (วิ.) มีความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, มีความถูกต้องเป็นใหญ่ยิ่ง.
  45. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  46. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  47. ธมฺมานุสาร : (ปุ.) ความระลึกตามซึ่งพระธรรม. ธมฺม+อนุสาร. ความระลึกซึ่งคุณแห่ง พระธรรม ธมฺมคุณ+อนุสาร.
  48. ธมฺมาภิมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะธรรม, ผู้มุ่ง แต่ความถูกต้อง, ผู้มุ่งแต่ยุติธรรม. ส. ธรฺมาภิมุข.
  49. ธมฺมาภิสมย : (ปุ.) ความถึงพร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ความตรัสรู้ซึ่งธรรม, ธรรมาภิสมัย (การสำเร็จมรรคผล).
  50. ธมฺมำธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดย ธรรม, ธรรมาธิปไตย (ถือความถูกต้อง เป็นใหญ่).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3847

(0.0897 sec)