Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวเนื่อง, เนื่อง, เกี่ยว, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวเนื่อง, 3847 found, display 1501-1550
  1. ปณิธาน : นป. การตั้งความปรารถนา, การตั้งใจแน่วแน่, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว
  2. ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  3. ปณิปาต : ป. การหมอบลง, การหมอบกราน, การแสดงความเคารพ
  4. ปตฺตสญฺญี : ค. ผู้มีความสำรวมในบาตร
  5. ปตฺตานุโมทนา : (อิต.) ความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, การอนุโมทนาซึ่งส่วนบุญ อันมาถึงแล้ว. ปตฺตาปตฺติ + อนุโมทนา. การอนุโมทนาส่วนบุญที่ผู้อื่นให้แล้ว ทินฺนปตฺติ + อนุโมทนา ลบ ทินฺน, การ อนุโมทนาส่วนบุญ ปตฺติ + อนุโมทนา.
  6. ปตฺตานุโมทนามย : (วิ.) (บุญ) สำเร็จด้วยความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, ฯลฯ.
  7. ปตฺติย : ค., ป. ซึ่งควรถึง, พึงบรรลุ; ซึ่งควรเชื่อถือ, น่าไว้ใจ; ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
  8. ปตฺติยายน : นป. ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
  9. ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
  10. ปตาป : ป. เดช, อานุภาพ, ความยิ่งใหญ่, ความรุ่งเรือง
  11. ปตาปวนฺตุ : ค. มีเดช, มีอานุภาพ, ความยิ่งใหญ่, ความรุ่งเรือง
  12. ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
  13. ปถน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ปถฺ คติยํ, ยุ. ความแผ่ไป, ความพิสดาร, ความกว้างขวาง. ปถฺ วิตฺถาเร, ยุ.
  14. ปทกฺขิณคฺคาหิตา : อิต. ความเป็นผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ความรับเอาโดยความเคารพ, ความฉลาด, ความชำนาญ
  15. ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
  16. ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
  17. ปทตฺถ : ป. อรรถแห่งบท, ความหมายของคำ
  18. ปทน : (นปุ.) การไป, การถึง, การดำเนินไป, ความเป็นไป. ปทฺ คติยํ, ยุ.
  19. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  20. ปทภาชน : นป. บทภาชน์, บทไขความ, บทอธิบายความ
  21. ปทภาชนีย : (นปุ.) ข้อความอัน...จำแนกไว้, บทภาชนีย์ คือบทที่ตั้งไว้เพื่อไขความบทที่ ต้องอธิบาย
  22. ปทร ปทล : (วิ.) ทำลายซึ่งความเร่าร้อน, ทำลายซึ่งความกระวนกระวาย. ปสฺทโท ทรเถ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, อ.
  23. ปทรสมาจาร : ค. ผู้มีความประพฤติทราม, ผู้มีมรรยาทหยาบคาย, ผู้ดื้อดึง
  24. ปทวณฺณนา : อิต. การพรรณนาบท, การอธิบายความหมายของคำในคาถา
  25. ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
  26. ปทานุปุพฺพตา : อิต. ความที่บทเรียงต่อกันไปตามลำดับ, การเรียงลำดับคำ
  27. ปทาลิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกทำลายแล้ว
  28. ปทีปิย, (- เปยฺย) : นป. สิ่งที่เนื่องด้วยประทีป, วัสดุสำหรับตามไฟ, ตะเกียงพร้อมทั้งอุปกรณ์
  29. ปทุมี : ค., ป. มีดอกบัว, เนื่องด้วยดอกบัว, เหมือนดอกบัว; ช้างตระกูลหนึ่งมีตัวลาย
  30. ปทุสฺสน : (นปุ.) การประทุษร้าย, ความประ ทุษร้าย.ปปุพฺโพ, ทุสฺโทสเน ยุ, สฺสํโยโค
  31. ปเทสญาณ : นป. ความรู้ในธรรมเพียงบางส่วน, ความรู้ที่มีขอบเขตจำกัด
  32. ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
  33. ปโทสิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ, ซึ่งเสียหาย, ซึ่งเป็นความผิด
  34. ปธานฆร : นป. เรือนเป็นที่กระทำความเพียร
  35. ปธานภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง...เป็นประธาน, ความเป็นแห่งประธาน.
  36. ปธานวนฺตุ : ค. ผู้มีความเพียร
  37. ปธานิก : ค. ผู้บำเพ็ญเพียร, ผู้ประกอบความเพียร
  38. ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
  39. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  40. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  41. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  42. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  43. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  44. ปนูติ : (อิต.) ความชม, ความชมเชย, ความสรรเสริญ. ปปุพฺโพ, นุ ถุติยํ, ติ, ทีโฆ.
  45. ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
  46. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  47. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  48. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  49. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  50. ปปญฺจา : (อิต.) ความเนิ่นช้า, ฯลฯ, ปปัญจา ชื่อของตัณหา, ตัณหา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | [1501-1550] | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3847

(0.0915 sec)