Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวเนื่อง, เนื่อง, เกี่ยว, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวเนื่อง, 3847 found, display 2801-2850
  1. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  2. อตฺถกุสล : ค. ฉลาดในประโยชน์, ฉลาดในเนื้อความ
  3. อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
  4. อตฺถคม : ป. การถึงความเสื่อม, การอัสดงคต (พระอาทิตย์)
  5. อตฺถญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้จักผล, ความเป็นผู้รู้จักผล.
  6. อตฺถตฺต : นป. ความมีผล, ความมีเหตุผล
  7. อตฺถนา : (อิต.) การขอ, การร้องขอ, ความปรถนา, ฯลฯ.อตฺถ ยาจนอิจฺฉาสุ, ยุ. ส.อรฺถนา.
  8. อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
  9. อตฺถรูป : (นปุ.) รูปของเนื้อความ, เนื้อความ.คำแปลหลัง รูป เป็นศัพท์สกัด.
  10. อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
  11. อตฺถา : (อิต.) ความต้องการ, ประโยชน์.อตฺถฺอิจฺฉายํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  12. อตฺถาธิปาย : (ปุ.) การอธิบายซึ่งอรรถ, อธิบายซึ่งอรรถ, อัตถาธิบาย (การขยายความ).
  13. อตฺถาปคม : ป. ความฉิบหายแห่งทรัพย์
  14. อตฺถิก : (วิ.) ผู้มีความต้องการ, ฯลฯ. วิ. อตฺโถอสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก อิก ปัจ.
  15. อตฺถิกวนฺต : ค. ผู้มีความต้องการ
  16. อตฺถิภาว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น ความเป็นของมี, ความเป็นของเป็น. อตฺถิ+ ตา ปัจ. ศัพท์หลัง วิ. อตฺถิโก ภาโว อตฺถิภา โว. อตฺถิ ลง ก สกัด ลบ ก.
  17. อตฺถี : (วิ.) ผู้มีความปราถนา, ฯลฯ, ผู้ขอ.
  18. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  19. อตมฺมย : ป. ความไม่ทะยานอยาก
  20. อตฺริจฺฉา, อตฺริจฺฉตา : อิต. ความโลภมาก
  21. อติกฺกม : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
  22. อติกฺกมน : (นปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, ความก้าวล่วง, ความล่วงละเมิด.
  23. อติกโกธ : (ปุ.) ความโกรธจัด, โกรธจัด.
  24. อติจฺฉา : อิต. ความโลภมาก, ความอยากจัด
  25. อติจริยา : (อิต.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤตินอกใจ.
  26. อติชาตปุตฺต : (ปุ.) อติชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความประพฤติดีสูงกว่าตระกูลพ่อแม่).
  27. อติตุฏฺฐิ : อิต. ความยินดียิ่ง
  28. อติทตฺถิ : อิต. ความรู้ยิ่ง, คำสอนที่สูงยิ่ง
  29. อติธาตา : อิต. ความอิ่มยิ่ง
  30. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  31. อติปฺปญฺจ : ป. ความเนิ่นช้ายิ่ง
  32. อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
  33. อติเรกตา : อิต. ความมากยิ่ง, ความเหลือเฟือ
  34. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  35. อติโรจน : (นปุ.) ความงดงามยิ่ง, ความรุ่ง เรืองยิ่ง, ความสว่างไสวยิ่ง.
  36. อติวตฺตน : นป. ความเป็นไปล่วง, ความครอบงำ
  37. อติสร : ค. มีความทุกข์ยิ่ง ; แล่นเลยไป
  38. อตีตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอดีต.อตีต+อํส+ญาณ.
  39. อตุลอตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มีความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  40. อตุล อตุลฺย : (วิ.) มีความเสมอกันหามิได้, มี ความเท่ากันหามิได้, ไม่มีความเสมอกัน, ไม่มีความเท่ากัน, ไม่มีเปรียบ, ไม่มีเทียบ, ชั่งไม่ได้, เลิศ, ประเสริฐ. ส. อตุลฺย.
  41. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  42. อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
  43. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  44. อเทฺวชฺฌตา : ค.ความไม่เป็นสอง,ความไม่สงสัย
  45. อโทส : (วิ.) ไม่มีความประทุษร้าย, ไม่มีโทสะ, ไม่มีโทษ.
  46. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  47. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  48. อธิการิก : ค. ผู้บำเพ็ญความดี, อันอ้างอิงถึง
  49. อธิเชคุจฺฉ : นป. ความน่าเกลียด, ความสะอิดสะเอียน
  50. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | [2801-2850] | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3847

(0.0892 sec)