Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สนา , then สน, สนะ, สนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สนา, 386 found, display 351-386
  1. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  2. สุณ : (ปุ.) สุนัข, หมา, หมาใน. วิ. สามิกสฺส วจนํ สุณาตีติ สุโณ. สุ สวเน, ยุ.แปลง น เป็น ณ, อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ แปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณ.
  3. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  4. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  5. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  6. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  7. โสณฺฑา : (อิต.) สถานที่ทำไว้เพื่อดื่มสุรา, โรงสุรา, ร้านสุรา. สนฺ ทาเน, อสฺโสตฺตํ, วณฺณวิกาโร จ.
  8. โสนก : (ปุ.) ต้นเพกา. สุนฺ คติยํ, ณฺวุ.
  9. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  10. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  11. เหตุปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอันเป็นเหตุ, ปัจจัยที่เป็นเหตุ. วิเสสนบุพ. กัม.
  12. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปดเป็นประมาณ.อสมาหารทิคุ.กัม.อฏฺฐารสโกฏิโยอฏฺฐารสโกฏิโย.ฉ.ตุล.อฏฺฐารสโกฏิโยปมาณานิยสฺสตํอฏฺฐารสโกฏิปมาณํ(ธนํ)วิเสสนบุพ. กัม.อฏฺฐารสโกฏิปมาณํธนํอฏฺฐารสโกฎธินํ.เป็นมัชเฌโลบ.
  13. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
  14. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  15. อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  16. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  17. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  18. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  19. อรญฺญิก : (วิ.) ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นวัตร.วิ.อรญฺเญวสนํสีลมสฺ-สาติอรญฺญิโก.อรญฺเญวาวสนสีโลอรญฺญิโก.ผู้อยู่ในวิหารอันตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญปติฏฺฐวิหาเรวสตีติอรญฺญิโก.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญอตฺถีติอรญฺญิโก อรญฺเญภโววาอรญฺญิโก.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญิโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  20. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  21. อาส : (ปุ.) ความปรารถนา. อสุ อิจฺฉายํ, โณ. ส. อาศํสน อาศํสา.
  22. อาสสา : อิต. ดู อาสํสน
  23. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  24. อิญฺชติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, ลุกชัน (ขน)
  25. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  26. อีรติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, โยกคลอน
  27. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  28. อุทฺธุนาติ : ก. สั่น
  29. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  30. อุพฺเพธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สั่น
  31. อุลฺโลจ : (ปุ. นปุ.) ผ้าดาดเพดาน, ผ้าเพดาน, เพดาน, ปะรำ. วิ. อุทฺธํ โลจยเต พนฺธียเตติ อุลฺโลจํ. อุทฺธํปุพฺโพ, ลุจฺ ทสฺสนพนฺธเนสุ, โณ. ส. อุลฺโลจ.
  32. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  33. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  34. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  35. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  36. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-386]

(0.0482 sec)