Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 1351-1400
  1. นิปฺผชฺชน : นป. การเกิดผล, ความสำเร็จ, ความสมบูรณ์
  2. นิปฺผตฺติ : (อิต.) ความสำเร็จ. นิ+ปทฺ+ติ ปัจ. ส.นิษฺปตฺติ
  3. นิปฺผาณิตตฺต : นป. ความเป็นผู้หรือสิ่งที่ปราศจากน้ำตาลหรือน้ำอ้อย
  4. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  5. นิพนฺธ : ป. ความผูกพัน, การยึดมั่น, การรัดรึง, ติดต่อกันไป; การรบเร้า
  6. นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
  7. นิพฺพน : ค. ซึ่งปราศจากป่าไม้, อันโล่งเตียน, อันปราศจากความอยากได้
  8. นิพฺพนถ : ค. ซึ่งปราศจากความมักมาก, ซึ่งหมดความอยากได้, อันไม่มีความรักใคร่, (ดู นิพฺพน ด้วย)
  9. นิพฺพาณ : นป. พระนิพพาน, การดับ, การทำลาย, ความสงบเย็น
  10. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  11. นิพฺพาติ : ก. พัด, ทำให้เย็น, ทำให้หมดความเร่าร้อน, ดับกิเลส, ดับทุกข์
  12. นิพฺพาตุ : อ. ความเย็น, ความดับ, เพื่อดับ
  13. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  14. นิพฺพานสญฺญา : อิต. ความหมายรู้พระนิพพาน
  15. นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
  16. นิพฺพายิตุ : อ. ความเย็น, ความดับ; เพื่อดับ
  17. นิพฺพิกปฺป : ป. ความเด่น, ความแตกต่าง
  18. นิพฺพิจิกิจฺฉา : อิต. ความแน่ใจ, ความไว้ใจ, การหมดข้อสงสัย
  19. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  20. นิพฺพิณฺณ : (ปุ.) ความเบื่อ, ความหน่าย, ความเบื่อหน่าย, ความเบื่อหน่ายในวัฏฏะ, ความจืดจาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ติฏฐยํ, โต.
  21. นิพฺพิท : (นปุ.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  22. นิพฺพิทา : (อิต.) ความเบื่อ, ฯลฯ. อ. ปัจ.
  23. นิพฺพิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้ในความเบื่อ หน่าย, นิพพิทาญาณ คือความรู้ทำให้ เกิดความเบื่อหน่ายในกองทุกข์.
  24. นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
  25. นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
  26. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  27. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  28. นิพฺเพธ : (ปุ.) การเจาะ, การเจาะออก, การชำแรก, การแหวก, ความเจาะออก, ฯลฯ, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. นิปุพฺโพ, วิธฺ วิชฺฌเน, อ.
  29. นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
  30. นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
  31. นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
  32. นิภตา : อิต. ความเหมือนกัน, การสมดุลย์กัน; ความปรากฏ; หน้าตารูปร่าง
  33. นิภา : (อิต.) ความรุ่งเรืองโดยหาเศษมิได้, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสงสว่าง. วิ. นิสฺเสเสน ภาตีติ นิภา. กฺวิ ปัจ. กัจฯ ๖๓๙.
  34. นิมฺมทน : (นปุ.) การย่ำยี, ความย่ำยี. นิปุพฺโพ, มทฺท มทฺทเน, ยุ. ลบ ทฺสังโยค.
  35. นิมฺมนุส : นป. ความไม่มีมนุษย์
  36. นิมล นิมฺมล : (วิ.) มีความมัวหมองออกแล้ว, ไม่มีความมัวหมอง, หมดความมัวหมอง, มีมลทินออกแล้ว, ไม่มีมลทิน, หมดมลทิน, สะอาด, ใส, บริสุทธิ์. ส. นิรฺมล.
  37. นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
  38. นิยตมิจฉาทิฎฐก : (ปุ.) บุคคลผู้มีความเห็น ผิดอันดิ่ง.
  39. นิยตมิจฺฉาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นผิดอัน ดิ่งลงแล้ว, ความเห็นผิดอันดิ่ง.
  40. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  41. นิยเมติ : ก. กำหนด, จำกัด, บังคับ, แสดงความหมาย
  42. นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
  43. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  44. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  45. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  46. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  47. นิรปราธ : (วิ.) มีความผิดออกแล้ว, ฯลฯ.
  48. นิรเปกฺข : (วิ.) มีความห่วงใยออกแล้ว, ฯลฯ.
  49. นิรย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ประเทศมีความเจริญไปปราศแล้ว, ประเทศไม่มีความเจริญ, ประเทศปราศ จากความเจริญ, ภพไม่มีความเจริญ, ภพไม่มีความสุข, โลกไม่มีความเจริญ, โลกไม่มีความสุข. วิ. อโย อิฏฐผลํ, โส นิคฺคโต อสฺมสติ นิรโย. ร. อาคม. นินฺทิโต รโย คมน เมตฺถาติ วา นิรโย. อภิฯ. นิคฺคโต อโย อสฺมสติ นิรโย. นิคฺคโต อโย ยสฺมาโส นิรโย. นตฺถิ อโย เอตฺถาติ วา นิรโย. รูปฯ ส. นิรย.
  50. นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | [1351-1400] | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3939

(0.1881 sec)