Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 1601-1650
  1. ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
  2. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  3. ปริกิลิสฺสน : นป. ความเศร้าหมอง
  4. ปริเกฺลส : ป. ความลำบาก, ความเศร้าหมอง
  5. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  6. ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
  7. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  8. ปริจรณ : (นปุ.) การบำเรอ, ความบำเรอ. ปริปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  9. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  10. ปริจารณา : อิต. ความดูแล, การตรวจตรารอบๆ , การบำเรอ
  11. ปริเฉท ปริจฺเฉท : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, ปริเฉท, บริเฉท ( ข้อความที่ กำหนดไว้เป็นตอนๆ ข้อความที่รวบรวมไว้ แล้วจัดเป็นตอนๆ ).
  12. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  13. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  14. ปริญฺญาปตฺต : (นปุ.) แผ่นแสดงความรอบรู้, ปริญญาบัตร คือ บัตรที่แสดงวิทยฐานะ ของผู้สำเร็จการศึกษา มีศักดิ์และสิทธิ์ ระดับปริญญา.
  15. ปริญฺญาย : อ. เพื่อความรู้รอบ
  16. ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  17. ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
  18. ปริณาม : ป. การเปลี่ยนแปลง, การย่อยอาหาร, ความแปรปรวน
  19. ปริณาม ปรินาม : (ปุ.) การน้อมไป, การน้อม มา แปลได้ทั้งไปและมา แล้วแต่เนื้อความจะบ่ง, การย่อยไป, ความน้อมไป, ความน้อมมา. ณ ปัจ.
  20. ปริต : (ปุ.) ความแผ่ไป, ความขยาย, ความกว้าง. ปริปุพฺโพ, ตนุ วิตฺถาเร, โร. กัจฯ ๖๓๙ วิ. ปริ ตโนตีติ ปริโต. กฺวิ ปัจ.
  21. ปริตฺต, ปริตฺตก : ๑. ค. นิดหน่อย, เล็กน้อย ; ๒. นป. ความต้านทาน, เครื่องป้องกัน
  22. ปริตฺตสุภ : (ปุ.) เทพชาวปริตตสุภะ, ปริตตสุภะ ชื่อพรหมโลกชั้นที่ ๗ มีความงามน้อย.
  23. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  24. ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
  25. ปริตฺตาส : (ปุ.) ความหวาด, ความสะดุ้ง, ความพรั่นพรึง. ปริปุพฺโพ, ตสฺ อุพฺเพเค, โณ.
  26. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  27. ปริตาป ปริตฺตาป : (ปุ.) ความร้อนใจ, ความร้อนใน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกระหาย, ปริ ปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โณ.
  28. ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  29. ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  30. ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  31. ปริทีปก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจงให้, ผู้ให้ความสว่าง
  32. ปริทีปน : นป., - นา อิต. การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย, การให้ความสว่าง
  33. ปริทีเปติ : ก. แสดง, ชี้แจง, ให้ความสว่าง
  34. ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  35. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  36. ปริเทวิต : (ปุ.) การร้องไห้, ฯลฯ, ความร้องไห้ ฯลฯ. ต ปัจ. อิอาคม.
  37. ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
  38. ปรินิฏฺฐาน : นป. ความสำเร็จ, การจบ
  39. ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
  40. ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
  41. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  42. ปริปฺลวปสาท : ค. มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย
  43. ปริปาจน : นป. ความหุงต้ม, ความเจริญงอกงาม
  44. ปริปุณฺณตา : อิต. ความบริบูรณ์, ความเต็ม, ความเพียบพร้อม
  45. ปริปูรก : ค. ผู้สำเร็จสมความปรารถนา, ผู้ใส่, ผู้บรรลุ
  46. ปริภว : ป. ความเย้ยหยัน, ด่าว่า, ดูแคลน, ลำบาก
  47. ปริเภท : ป. ความยุยงให้แตกกัน
  48. ปริมณฺฑล : นป. วงกลม, วงรอบ; ความเรียบร้อย
  49. ปริมุตฺติ : อิต. ความพ้น, ความปลดปล่อย
  50. ปริยตฺต : นป. ความใคร่
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | [1601-1650] | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3939

(0.1275 sec)