Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 1951-2000
  1. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  2. มตฺตา มตฺรา : (อิต.) การนับ, เครื่องนับ, เครื่องวัด, เครื่องชั่ง, เครื่องตวง, ความเป็นใหญ่. มา ปริ-มาเณ. ต ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๖๕๐.
  3. มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
  4. มติสจิว : (ปุ.) มนตรี (คนมีความรู้).
  5. มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
  6. มทฺทว : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ณ ปัจ. ภาวทัต. ความอ่อน, ความอ่อน โยน. ณ อัจ. สกัด วิ. มุทุโน ภาโว มทฺทวํ. เอา อุ ที่ มุ เป็น อ เอา อุ ที่ ทุ เป็น อว แปลง ท เป็น ทฺท.
  7. มทนิมฺมทน : (ปุ.) ความย่ำยีความเมา, การยังความเมาให้สร่าง.
  8. มทฺนิมฺมทน : (วิ.) อันยังความเมาให้สร่าง, หมดเมา, หายเมา.
  9. มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
  10. มธุรตฺต : นป., มธุรตา อิต. ความหวาน
  11. มนกฺการ : ป. ความตั้งใจ
  12. มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  13. มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
  14. มนฺทตา : อิต., มนฺทตฺต นป. ความลดน้อยลง, ความช้า, ความโง่เง่า
  15. มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
  16. มนฺทิย : นป. ความเฉื่อยชา, ความขี้เกียจ, ความโง่เง่า
  17. มนน : นป. ความคิด, ความนึก
  18. มนสิการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ, การกำหนดในใจ, การใส่ใจ, การพิจารณา, ความกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ.
  19. มนุสฺสตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งมนุษย์, ความเป็นมนุษย์. ตฺต ปัจ.
  20. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  21. มนุสฺสภาว : ป. ความเป็นมนุษย์
  22. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  23. มโนโตส : (ปุ.) ความยินดีแห่งใจ, ความแช่มชื่นแห่งใจ, ฯลฯ. มน+โตส.
  24. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  25. มโนธมฺม : (ปุ.) ธรรมของใจ, ธรรมสำหรับใจ, ใจมีธรรม คือมีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ.
  26. มโนปโทส : (ปุ.) ความประทุษร้ายในใจ, ความประทุษร้ายด้วยใจ.
  27. มโนปสาท : ป. ความเสื่อมใสทางใจ
  28. มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
  29. มโนภู : (ปุ.) ความเป็นในใจ, ความมีในใจ, ความโลภ, กามเทพ. วิ. สิงฺคารรูเปน ปาณีนํ มนสิ ภวตีติ มโนภู. กฺวิ ปัจ.
  30. มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
  31. มโนวิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้แจ้งด้วยใจ, ความรู้ทางใจ, ความรู้ด้วยใจ.
  32. มโนวิตกฺก : ป. ความคิด, ความคำนึง
  33. มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
  34. มโนสญฺเจตนา : (อิต.) ความจงใจแห่งใจ, ความจงใจ.
  35. มโนสมฺผสฺส : (ปุ.) ความถูกต้องด้วยใจ.
  36. มโนสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบด้วยใจ, ความประพฤติชอบทางใจ.
  37. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  38. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  39. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  40. มมฺมจฺเฉทวจน : (นปุ.) คำเป็นเครื่องตัดเสียซึ่งความรักเป็นเหตุตาย.
  41. มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  42. มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  43. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  44. มรณปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งความตาย, มีความตายอันถึงแล้ว.
  45. มรณปริโยสาน : ค. มีความตายเป็นที่สุด
  46. มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
  47. มรณภย : (นปุ.) ความกลัวต่อความตาย, ความกลัวแต่ความตาย, ความกลัวอันเกิดแล้วแต่ความตาย, ความกลัวต่อมรณะ, ความกลัวแต่มรณะ, ภัยต่อมรณะ, ภัยแต่มรณะ, ภัยคือมรณะ.
  48. มรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันตาย, ความเป็นคืออันจะตาย, ฯลฯ, ความตาย. ไทยมรณภาพ ใช้เป็นกิริยาว่า ตาย เฉพาะการตายของพระสงฆ์.
  49. มรณมุข : นป. ปากแห่งความตาย
  50. มรณลกฺขณ มรณลิงฺค : (วิ.) มีความตายเป็นลักษณะ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | [1951-2000] | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3939

(0.1371 sec)