Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความตื้น, ตื้น, ความ , then ความ, ความตน, ความตื้น, ตน, ตื้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความตื้น, 3939 found, display 51-100
  1. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  2. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  3. ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
  4. ยถาปสาท : ก. วิ. ตามความเสื่อมใสแห่งตน
  5. ยถาสก : ค., ยถาสกํ ก.วิ. ตามความป็นของของตน
  6. ยถาสทฺธ : ก. วิ. ตามศรัทธาของตน, ตามความเชื่อของตน
  7. ยถิจฺฉต : ก.วิ. ตามความพอใจของตน
  8. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  9. สกฺกายทิฏฺฐิ : อิต. ความยึดถือว่ากายของตน
  10. สจฺฉนฺท : ป. ความพอใจของตน
  11. สนฺตุฏฺฐิ : อิต. ความยินดีในของของตน
  12. สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
  13. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  14. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  15. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  16. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  17. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  18. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  19. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  20. เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  21. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  22. เสริวิหารี : ค. ผู้อยู่ตามความพอใจของตน
  23. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  24. อตฺตกาม : ป. ความรักตน
  25. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  26. อตฺตทตฺถ : ป. ประโยชน์ตน, ความสุขของตน
  27. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  28. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  29. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  30. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  31. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  32. อตฺตาธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดยตน, อัตตาธิปไตย (ปรารภตนเป็นใหญ่, ถือตัวเป็นใหญ่, เห็นแก่ตัว).
  33. อตฺตานุมติ : (อิต.) ความเห็นตามโดยตน, ความรู้ตามโดยตน, อัตตานุมติ(ตามความเห็นของตน)
  34. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  35. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  36. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  37. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  38. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  39. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  40. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  41. อปจายนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติถ่อมตน, สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติอ่อนน้อมแก่ผู้ใหญ่.
  42. อรูปตณฺหา : อิต. ความอยากเป็นผู้ไม่มีตัวตน, ความอยากเกิดในชั้นอรูปพรหม
  43. อรูปโลก : ป. อรูปโลก, โลกแห่งความไม่มีรูป, โลกแห่งความไม่มีตัวตน
  44. อสนฺตุฏฺฐ : ค. ไม่สันโดษ, ซึ่งไม่มีความพอใจในของของตน
  45. อสนฺตุฏฺฐิ, - ฐิตา : อิต. ความไม่สันโดษ, ความไม่ความพอใจในของที่ตนมีอยู่
  46. อสนฺทิฏฺฐิปรมาสี : ค. ผู้ไม่ลูบคลำทิฐิของตน, ผู้ไม่ยึดถือความเห็นของตน
  47. อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
  48. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  49. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  50. อุณฺณติ : (อิต.) ความพองจิต, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, การเทิดตน, การไว้ตน, การยกตน. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, ติ. ดู อุณฺณต.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3939

(0.1337 sec)