Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าแก๊ป, แก๊ป, เข้า , then กป, แก๊บ, แก็ป, แก๊ป, ขา, เข้, เข้า, เข้าแก๊ป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าแก๊ป, 409 found, display 151-200
  1. อาวิสติ : ก. เข้าไป, เข้าอยู่, สิงสถิต
  2. อาวุณาติ : ก. ร้อยรัด, เย็บ, ร้อยเข้ากัน, เสียบ, เจาะ, ไช
  3. อาวุตฺถ : กิต. เข้าอยู่อาศัยแล้ว, ถูกผีสิงแล้ว
  4. อาเวลิต, - เวลฺลิต : ค. ซึ่งโค้ง, ซึ่งม้วนเข้า
  5. อุกฺโกจ : (วิ.) ไม่มีความหดเข้า, เผื่อแผ่.
  6. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  7. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  8. อุปก : ค. เข้าไปใกล้, จวน, ใกล้เข้า
  9. อุปกฺขฏ : กิต. นำเข้ามาใกล้, จัดแจง, แต่ง
  10. อุปกฏฐ : ค. ใกล้เข้ามา, คร่ามาใกล้
  11. อุปค : (ปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  12. อุปคจฺฉติ : ก. มาถึง, เข้าถึง
  13. อุปคมน : (นปุ.) การเข้าถึง, การเข้าไป, การเข้าไปใกล้, ความเข้าถึง, ฯลฯ. อุป+คมฺ+กฺวิ, ยุ ปัจ.
  14. อุปคมนก : ค. ผู้เข้าถึง, ผู้เข้าไปใกล้
  15. อุปคมฺม : กิต. เข้าถึงแล้ว, เข้าไปใกล้แล้ว
  16. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  17. อุปนมติ : ก. น้อมเข้ามา, น้อมเข้าไป
  18. อุปนมน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  19. อุปนยน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  20. อุปนยฺหติ : ก. เข้าผูก, ผูกมั่น, เข้าไปผูกไว้, ผูกพยาบาท
  21. อุปนานิย : ค. ผู้เข้าใกล้, ผู้นำเข้าไป
  22. อุปปชฺชติ : ก. เกิดอีก, ปรากฏขึ้น, เข้าถึง
  23. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  24. อุปย : (ปุ.) การเข้าถึง. อุปปุพฺโพ, อิ คมเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  25. อุปยติ : ก. ถึง, เข้าถึง, ลุ
  26. อุปยาติ : ก. ไปถึง, ไปใกล้, เข้าใกล้
  27. อุปโยค : (ปุ.) การเข้าไปประกอบ, การประกอบเข้า, การใช้สอย, ความเข้าไปประกอบ, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, โณ. ส. อุปโยค.
  28. อุปวสติ : ก. เข้าอยู่, อาศัย, รักษา, เข้าจำ
  29. อุปวุตฺถ : กิต. เข้าอยู่แล้ว
  30. อุปสงฺกมน : (นปุ.) การเข้าไปใกล้, การเข้า ใกล้. อุป สํ ปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, ยุ.
  31. อุปสมฺปชฺชติ : ก. เข้าถึง, ถึงพร้อม, อุปสมบท, บวช
  32. อุปสมฺปทา : (อิต.) การถึงพร้อมในธรรมเบื้อง บน (สูง). อุปริ+สมฺปทา ลบ ริ. การถึง พร้อม, การเข้าถึงพร้อม, การยังกุศลให้ถึง พร้อม. อุป+สํ+ปทา, การอุปสมบท (บวช เป็นภิกษุ). ส. อุปสมฺปทฺ.
  33. อุปสเสว : (ปุ.) การเข้าไปคบ, การเข้าไปคบ หา, การเข้าไปเกียวข้อง. อุป สํ ปุพฺโพ, เสวฺ เสวเน, อ.
  34. อุปาสีน : ค. ผู้นั่งใกล้, ผู้เข้าใกล้
  35. อุปาหาร : ป. การนำเข้ามา, การเพิ่มเข้ามา
  36. อุเปจฺจ : กิต. เข้าถึงแล้ว, บรรลุแล้ว
  37. อุเปต : (วิ.) ผู้เข้าถึง. อุปปุพฺโพ, อิ คติยํ, โต.
  38. อุเปติ : ก. เข้าถึงแล้ว, บรรลุแล้ว
  39. เอกชฺฌ : (อัพ. นิบาต) อันเดียวกัน, รวมเข้า, รวมกัน, ร่วมกัน, ด้วยกัน, เป็นอันเดียวกัน, ประการเดียวกัน, ประการเดียว, โดยส่วน เดียว, โดยส่วนเดียวกัน. รูปฯ ว่าเป็น สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  40. โอคธ : (วิ.) หยั่งลง, นับเข้า, รวมกัน, ถึงที่สุด, วิ. อวคาธตีติ โอคธํ. โอปุพฺโพ, คาธฺ ปติฏฐา ยํ, อ.
  41. โอคุมฺเผติ : ก. มัดรวมกันเข้า; ม้วน; ปกปิด; ประดับ
  42. โอปนยิก : (วิ.) เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออันน้อมเข้ามา, เป็นธรรมอันบุคคลควรน้อมเข้ามา. วิ. อุปเนตุ  ภพฺโพติ โอ ปนยิโก. เป็นธรรมอันบุคคลควรเพื่ออัน น้อมเข้ามาในตน, เป็นธรรมอันบุคคลควร น้อมเข้ามาในตน. วิ. อนฺตนิ อุปเนตุ ภพฺโพติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามา วิ. อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรเพื่ออัน นำเข้ามา วิ. อุปเนตุ อรหตีติ โอปนยิโก. ควรนำเข้ามาในจิตของตน ด้วยสามารถ แห่งภาวนา วิ. ภาวนาวเสน อตฺตโน จิตฺเต อุปนยํ อรหตีติ โอปนยิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  43. โอเปติ : ก. ให้เข้าไป, ใส่เข้าไป, ผลักเข้า, เข้าถึง
  44. โอสรติ : ก. เข้ามาสู่, กลับเข้ามาหาหมู่, มาประชุม
  45. โอสารณ : (นปุ.) การประชุม, การรวมลง, การเรียกเข้าหมู่.
  46. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  47. โอสาเรติ : ก. บรรจุเข้าตำแหน่งเดิม, เรียกเข้าหมู่ ; อธิบาย, ชี้แจง, นำมาพิจารณา
  48. โอสิต : กิต. อาศัยอยู่แล้ว, เข้าถึงแล้ว
  49. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  50. ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ; ๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-409

(0.0434 sec)