Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าแก๊ป, แก๊ป, เข้า , then กป, แก๊บ, แก็ป, แก๊ป, ขา, เข้, เข้า, เข้าแก๊ป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าแก๊ป, 409 found, display 301-350
  1. อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  2. อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  3. อพฺภกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวคัดค้าน
  4. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  5. อภิสงฺขาริก : ค. สภาพที่สังขารปรุงแต่ง, สภาพที่บุญปรุงแต่ง
  6. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  7. อสมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ในที่ลับหลัง.
  8. อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
  9. อากงฺขา : อิต. ดู อากงฺขน
  10. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  11. อารกฺขา : อิต. อารักขา, การรักษา, การคุ้มครองป้องกัน
  12. อิกฺขา : (อิต.) การเห็น, ฯลฯ. อิกขุ ธาตุ อ ปัจ. อา อิต.
  13. อุขา : อิต. ดู อุกฺขลิ
  14. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  15. อุเปขา : อิต. ดู อุเปกฺขนา
  16. โอกฺขายิก : ค. ซึ่งปรากฏ, ซึ่งอยู่ลึก
  17. อกฺขาต : (นปุ.) สภา. อาปุพฺโพ, ขา ปกาสเน, โต. รัสสะ อุปสรรค ซ้อน กฺ.
  18. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  19. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  20. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  21. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  22. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  23. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  24. ทสฺสติ : ๑. ก. เห็น, เข้าใจ; ๒. ก. (ขา) จักให้
  25. พุนฺท : (ปุ.) ราก. วุ สํวรเณ, โท, นิคฺคหิตาคโม, วสฺส โพ. ปุ่ม, พันธุ์ ขา ก็แปล.
  26. กฏุกโรหิณี : อิต. ข่า
  27. กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี : (อิต.) ข่า วิ. กฏุก รสา หุตฺวา รุหตีติ กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี วา, กฏุกปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
  28. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  29. กปลฺล : (นปุ.) กระเบื้อง. กปฺ อจฺฉาทเน, อโล,ทฺวิตุตํ.
  30. กปาฏ : (นปุ.) บานประตู. กปฺ อจฺฉาทเน, อาโฏ. ส. กปาฏ กพาฏ.
  31. กโปต : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโต. กมฺปฺ. จลเน วา, มฺโลโป. ส. กโปต.
  32. กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.
  33. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  34. กุถ : (ปุ. นปุ.) เครื่องลาดหลังช้าง, ผ้าเครื่อง ลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าขนสัตว์, ผ้าสักหลาด. กปฺ สชฺชนายํ โถ, ปฺโลโป, อสฺส. ส. กุถ.
  35. กุลีรปาท, - ทก : ค. (เตียง) มีขาเหมือนก้ามปู
  36. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  37. กุฬีรปาท : (ปุ.) เตียงมีขาดังปู, เตียงมีขา ดังก้ามปู.
  38. กูปก : (ปุ.) เสากระโดง, กูปฺ คมเน, ณฺวุ, อปจฺจโย วา สกตฺเถ โก. ส. กูปก.
  39. โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
  40. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  41. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  42. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  43. ขลุงฺก : ป. ม้ากระจอก, ม้าขาเขยก
  44. ขาทิกา : (อิต.) แปลเหมือน ขาทน.
  45. โขณฺฑ : (วิ.) กระจอก, คนเขยก, คนขา เขยก.
  46. คนฺธพฺพาธิป : (ปุ.) คันธัพพาธิปะ ชื่อผู้เป็น ใหญ่ในคนธรรพ์ ชื่อท้าวโลกบาลทิศ ตะวันออก, ท้าวธตรฐ. วิ. ปญฺจสิขาทีนํ คนฺธพฺพานํ อธิโป นายโก คนฺธพฺพาธิโป.
  47. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  48. คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
  49. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  50. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-409

(0.0677 sec)