Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 1401-1450
  1. กมฺมกิเลส : ป. กรรมกิเลส, กรรมเป็นเหตุให้เศร้าหมอง
  2. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  3. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  4. กมฺมญฺญตา : อิต. กมฺมญฺญภาว ป. ความที่จิตเป็นสภาพควรแก่การงาน, ความพร้อม, ความคล่องแคล่ว
  5. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  6. กมฺมทายาท : (วิ.) ผู้รับมรดกของกรรม, ผู้มี กรรมเป็นมรดก.
  7. กมฺมเธยฺย : นป. ความเป็นผู้เอาธุระในการงาน; หน้าที่
  8. กมฺมนฺตฏฐาน : นป. ที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำงาน, สถานที่ทำงาน
  9. กมฺมนฺติก : ค. ผู้ประกอบด้วยการงาน, ผู้เป็นกรรมกร
  10. กมฺมนิเกตฺวา : ค. มีกรรมเป็นที่พำนักอาศัย
  11. กมฺมปจฺจย : ๑. ป. กรรมปัจจัย, ปัจจัยของกรรม ; ๒. มีกรรมเป็นเครื่องสนับสนุน
  12. กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
  13. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  14. กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
  15. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  16. กมฺมมูล : ค. มีกรรมเป็นมูลเหตุ
  17. กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
  18. กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
  19. กมฺมโยนิ, - นี : ค. มีกรรมเป็นกำเนิด
  20. กมฺมลกฺขณ : ค. มีกรรมเป็นลักษณะ
  21. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  22. กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
  23. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  24. กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
  25. กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
  26. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  27. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  28. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  29. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  30. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  31. กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
  32. กมฺมสีล : ค. ผู้ทำการงานเป็นปกติ
  33. กมฺมารามตา : อิต. ความพอใจใจการงาน, ความเป็นผู้ยินดีในการงาน
  34. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  35. กมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ฯลฯ. ตาปัจ. ภาวตัท.
  36. กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
  37. กยวิกฺกยิก : (วิ.) ผู้เป็นอยู่ด้วยการซื้อและการขาย, ผู้ค้าขาย. วิ. กยวิกฺกเยหิ ชีวตีติ กยวิกฺกยิโก. อภิฯ ณิก ปัจ. โมคฯ อิก ปัจ.
  38. กยิก : (วิ.) ผู้เป็นอยู่ด้วยการซื้อ วิ. กเยน ชีวตีติ กยิโก.
  39. กรกฏก : (ปุ.) ระหัดชัก ชื่อระหัดชนิดหนึ่ง (เป็นไปได้ด้วยมือ).
  40. กรณ : (วิ.) (วตฺถุ) เป็นเครื่องทำ, (อวยว) เป็นเครื่องทำเสียงให้เกิด. วิ. กโรติ เตนา ติ กรณํ. กรียเต เตนาติ วา กรณํ. เป็นที่ทำ วิ. กโรนฺติ เอตฺถาติ กรโณ. กรฺ กรเณ, ยุ.
  41. กรณตฺถ : ป. อรรถหรือความหมายว่าเป็นเครื่องมือ, กรณอรรถ, อรรถที่ลงในตติยาวิภัตติ
  42. กรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันทำ, ฯลฯ.
  43. กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
  44. กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
  45. กรณียตา : (อิต.) ความเป็นแห่งกิจอัน..พึงทำ, ฯลฯ.
  46. กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
  47. กรวีก : (ปุ.) กรวีกะ ชื่อภูเขาลูกที่ ๓ ใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของภูเขาสุเมรุ.
  48. กรหจิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน ๆ, บางครั้ง. ส. กรหิจิตฺ.
  49. กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
  50. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | [1401-1450] | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1010 sec)