Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 1801-1850
  1. จิตฺตช จิตรช : (วิ.) เกิดแต่จิต วิ. จิตฺตโส ชาโต จิตฺตโช. เกิดในจิต วิ. จิตฺตสฺมึ ชาโต จิตฺตโช. กฺวิ ปัจ. นามกิตก์ จะตอบเป็น ปญจมีตัป. สัตตมีตัป. ก็ได้. โส ปัจ. ลงใน ปัญจมีวิภัติ.
  2. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  3. จิตฺตรุจิต : ค. ซึ่งจิตชอบ, ซึ่งเป็นที่พอใจ
  4. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  5. จิตฺตสณฺหตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็น ธรรม ชาตละเอียด.
  6. จิตฺตเหตุก : ค. มีจิตเป็นเหตุ
  7. จิตฺตาธิปติ : ป. จิตตาธิบดี, ธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต, ความเป็นใหญ่แห่งจิต
  8. จิตฺตาธิปเตยฺย : ค. มีธรรมที่เป็นใหญ่คือจิต
  9. จิตฺตุชฺชุกตา : อิต. ความซื่อตรงแห่งจิต, ความเป็นผู้มีจิตซื่อตรง
  10. จิตฺเตกคฺค : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง, จิตมี อารมณ์เดียว วิ. จิตฺตํ เอกคฺคํ จิตฺเตกคฺคํ วิเสสนุต. กัม.
  11. จิตฺเตกคฺคตา : (อิต.) ความที่แห่งจิตเป็นจิตมี อารมณ์เป็นหนึ่ง, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  12. จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
  13. จิตฺรก : (ปุ.) เสือดาว (มีลายเป็นจุดๆ).
  14. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  15. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  16. จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
  17. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  18. จิรปฏิก : ป. กาลนาน (มีใช้เฉพาะในรูปปัญจมีวิภัติติเป็น จิรปฏิกา = ตั้งแต่กาลนานมาแล้ว)
  19. จีร : (นปุ.) การเขียน, การตกแต่ง, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าปิดของลับ, ตะเข็บผ้า, ขนสร้อย ( ขนที่คอสัตว์เป็นพวงงาม?) พวงมาลัย, ตะกั่ว.
  20. จีวรกาลสมย : ป. สมัยจีวรกาล, คราวที่ทรงอนุญาตให้ (พระภิกษุสงฆ์) รับจีวรได้
  21. จีวรนิทาหก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่เก็บจีวร
  22. จีวรปฏิคฺคาหก : (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร
  23. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  24. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  25. จีวรภาชก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่แจกจีวร, ผู้แบ่งจีวร
  26. จีวรภิสี : อิต. หมอนที่ทำด้วยจีวร, จีวรที่ใช้เป็นหมอนหนุน
  27. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  28. จุณฺณกชาต : ค. ซึ่งเป็นผงละเอียด
  29. จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
  30. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  31. จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
  32. จุฬ : (ปุ.) มวยผม ( ผมที่ขมวดไว้เป็นกลุ่มเป็น กระจุก ), ผมจุก, มกุฎ, มงกุฎ, จอม, ยอด, หัว. จุฬฺ เปรเณ, อ.
  33. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  34. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  35. เจตสิก : (วิ.) อันเป็นไปในจิต วิ. เจตสิ สํวตฺตตีติ เจตสิโก. อันประกอบในจิต วิ. เจตสิ นิยุตฺโต เจตสิโก. อันมีในจิต วิ. เจตสิ ภวํ เจตสิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  36. เจโตปริจฺจ : นป. ความยักเยื้องแห่งจิต, ความเป็นไปต่างๆ แห่งจิต, สภาพของจิต, อุปนิสัย
  37. เจโตวสิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงความเป็นผู้ชำนาญทางใจ, ผู้มีอำนาจเหนือจิต
  38. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  39. โจกฺขภาว : ป. ความเป็นของสะอาด, สะอาด
  40. โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
  41. โจราฏวิ : อิต. ดงเป็นที่ซุ่มอยู่แห่งโจร, ดงโจร
  42. โจริก : (นปุ.) ความเป็นแห่งโจรหญิง กณฺ ปัจ.
  43. โจริกา : (อิต.) กิริยาแห่งขโมย, กิริยาอันเป็น ของแห่งโจร, วิชาอันเป็นของแห่งโจร, การทำของโจร. วิ. โจรสฺส กมฺมํ โจริกา. ณิกปัจ.
  44. โจรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นโจร, นางโจร.
  45. โจฬิย : ค. ซึ่งอยู่ในแคว้นโจฬะ, ซึ่งมีในแคว้นโจฬะ, ซึ่งเนื่องด้วยแคว้นโจฬะ, เป็นชาวแคว้นโจฬะ
  46. ฉกฺขตฺตุ : อ. หกครั้ง
  47. ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
  48. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  49. ฉทฺทาฉิทฺท : (วิ.) เป็นช่องและช่องอันเจริญ, เป็นช่องน้อยช่องใหญ่, ทั้งช่องน้อยทั้งช่องใหญ่.
  50. ฉทน : (นปุ.) การปิด, การบัง, ที่เป็นที่มุง, เครื่องมุง, หลังคา, ใบ, ใบไม้. ยุ ปัจ. ฉทส (ไตรลิงค์) หกและสิบ, สิบยิ่งด้วยหก, สิบหก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | [1801-1850] | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1085 sec)