Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 3451-3500
  1. อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบแปด.อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตรแปลงทเป็นรฑีฆะ.
  2. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
  3. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปดเป็นประมาณ.อสมาหารทิคุ.กัม.อฏฺฐารสโกฏิโยอฏฺฐารสโกฏิโย.ฉ.ตุล.อฏฺฐารสโกฏิโยปมาณานิยสฺสตํอฏฺฐารสโกฏิปมาณํ(ธนํ)วิเสสนบุพ. กัม.อฏฺฐารสโกฏิปมาณํธนํอฏฺฐารสโกฎธินํ.เป็นมัชเฌโลบ.
  4. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูกเป็นอิต.ก็มี.
  5. อฏติ : ก.ไป, ถึง, เป็นไป
  6. อฏนีอฏฺฏนิอฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่เตียง.อฏฺ คมณ, อนี. ยุวา.ศัพท์หลังแปลงฏ เป็นฎฺฎ.
  7. อฑฺฒงฺคุล : (วิ.) มีกึ่งแห่งองคุลีเป็นประมาณ
  8. อฑฺฒสร : (ปุ.) เสียงกึ่ง, เสียงครึ่ง, (กึ่งเสียงครึ่งเสียง), อัฒสระ(เสียงกึ่งสระของสระสั้น).พยัญชนะที่เป็นอัฒสระคือยรลวสหฬสันสกฤติอัฒสระมี๔ตัวคือยรลว.ส.อรฺธสร.
  9. อฑฺฒุฑฺฒ : (วิ.) ที่สี่ด้วยกึ่ง, สามกับครึ่ง, สามครึ่ง, สามกึ่ง.วิ.อฑฺเฒนจตุตฺโถอฑฺฒุฑฺโฒ.แปลงจตุตฺถเป็นอุฑฺฒ.
  10. อณฺฑก : (วิ.) หยาบ, หยาบคาย, ขรุขระ, ระคาย.ใช้เป็นคุณบทเฉพาะวาจา.
  11. อณฺฑูปก : (นปุ.) เครื่องรองภาชนะ, เครื่องรองของที่เทินบนศรีษะ (ส่วนมากทำด้วยผ้าเป็นวงกลม), เสวียนผ้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ).วิ.อนฺตํ สมีปํ อุปคจฺฉติอาเธยฺยสฺสาติ อณฺฑูปกํ. แปลง นฺตเป็นณฺฑแปลงคเป็นก.
  12. อณฺห : (ปุ.) วัน. อห ศัพท์ แปลงเป็น อณฺห.
  13. อณิ : (อิต.) ลิ่ม.สลัก (สิ่งที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด), ขอบ, ที่สุด.อณฺคติยํอิ. เป็นอณี อาณิ อาณี ก็มี. ส. อณิ. อาณิ.
  14. อณุ : (ปุ.) อณู. ๓๖ ปรมาณูเป็น ๑ อณู. ส. อณุ.
  15. อณุอนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก.อณฺคติยํ, อุ. ศัพท์หลังแปลงณุเป็นนุ.
  16. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  17. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  18. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  19. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  20. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  21. อตฺตมนตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจอันปีติและโสมนัสถือเอาแล้ว. ฯลฯ.
  22. อตฺตสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นตน.วิ. อตฺตาอิติ สญฺญา อตฺตสญฺญา.
  23. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  24. อตฺตเหตุ : (วิ.) มีตนเป็นเหตุ.
  25. อตฺตาธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดยตน, อัตตาธิปไตย (ปรารภตนเป็นใหญ่, ถือตัวเป็นใหญ่, เห็นแก่ตัว).
  26. อตฺตาธีน : (วิ.) พึ่งตนเองได้, เป็นไท.
  27. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  28. อตฺถญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้จักผล, ความเป็นผู้รู้จักผล.
  29. อตฺถภูต อตฺถมฺภูต : (วิ.) เป็นเพียงดังผล. วิ. อตฺโถ อิว ภูโต อตฺถภูโต อตฺถมฺภูโต วา.
  30. อตฺถรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่องลาดแล้วด้วยขนสัตว์, เครื่องลาด, เครื่องปู, วัตถุสำหรับปูพื้น. อาปุพฺโพ, ถรฺ ถรเณ, ยุ, รฺสโส, ตฺสํโยโค.
  31. อตฺถรูป : (นปุ.) รูปของเนื้อความ, เนื้อความ.คำแปลหลัง รูป เป็นศัพท์สกัด.
  32. อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
  33. อตฺถวาที : ค. ผู้มีปกติกล่าวแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
  34. อตฺถิภาว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น ความเป็นของมี, ความเป็นของเป็น. อตฺถิ+ ตา ปัจ. ศัพท์หลัง วิ. อตฺถิโก ภาโว อตฺถิภา โว. อตฺถิ ลง ก สกัด ลบ ก.
  35. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  36. อตฺยปฺป : (วิ.) น้อยเกิน, น้อยยิ่ง.อติ+อปฺปแปลงอิเป็นย.
  37. อตฺริจฺฉ : (วิ.) ผู้ปราถนาในอารมณ์นั้น.อตฺรปุพฺโพ, อิสุอิจฺฉายํ, อ.แปลงสเป็นจฺฉ.
  38. อติขิณ : (วิ.) คม, แหลม, เฉียบแหลม.อติปุพฺโพ, ขิ คติยํ. นา ปัจ.ประจำธาตุอปัจ.แปลงนเป็นณ.
  39. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  40. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  41. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  42. อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  43. อติปณฺฑิต : ค. ฉลาดมาก, เป็นบัณฑิตยิ่ง
  44. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  45. อติปติ : (วิ.) ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่.
  46. อติปีณิต : ค. อันเป็นที่เต็มใจยิ่ง
  47. อติพฺรหฺมา : ป. ท้าวมหาพรหม, พระพรหม, ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง
  48. อติมโนรม : ค. เป็นที่น่ารื่นรมย์ยิ่ง
  49. อติริจฺจติ : ก. เหลืออยู่, คงอยู่, เป็นเดน (อาหาร)
  50. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | [3451-3500] | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1281 sec)