Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 3701-3750
  1. อภิธมฺมตฺถสงฺคห : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งเนื้อความอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วในพระอภิธรรม.
  2. อภิธมฺมตฺถสงฺคหอภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
  3. อภิธมฺมตฺถสงฺคห อภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
  4. อภิธมฺมปิฏก : (นปุ.) พระอภิธรรมปิฎกเป็นปิฎกที่ ๓ ของไตรปิฎกเป็นปรมัตถเทสนา.
  5. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  6. อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
  7. อภิปุพฺพ : (วิ.) มีอภิเป็นบทหน้า, มีอภิอยู่หน้า.
  8. อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  9. อภิภู : (ปุ.) พระผู้เป็นยิ่งวิ.อภิภวิตฺวาภวตีติอภิภู.อภิ+ภูธาตุกฺวิปัจ.
  10. อภิโยพฺพน : นป. ความเป็นหนุ่มสาวยิ่ง
  11. อภิรต : ค. อันยินดียิ่ง, อันเป็นที่พอใจยิ่ง
  12. อภิรตตฺต : นป. ความเป็นผู้ยินดียิ่ง, ความเป็นผู้ชอบใจยิ่ง
  13. อภิราม : ค. อันยินดี, อันเป็นที่พอใจ
  14. อภิลกฺขิตตฺต : นป. ความเป็นคืออันกำหนด, ความตั้งใจไว้
  15. อภิวาท : (ปุ.) การกราบ, ฯลฯ.วนฺทฺธาตุณ, ยุปัจ.ลบนฺทีฆะอที่วเป็นอา.ส.อภิวาทอภิวาทน.
  16. อภิวาทน : (นปุ.) การกราบ, ฯลฯ.วนฺทฺธาตุณ, ยุปัจ.ลบนฺทีฆะอที่วเป็นอา.ส.อภิวาทอภิวาทน.
  17. อภิสขรอภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล.อภิสํบทหน้ากรฺธาตุอปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺรูปฯ ๕๖๖.
  18. อภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่ง, ความปรุงแต่ง.ณ ปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺแล้วทีฆะ.
  19. อภิสชฺชน : (วิ.) อันยัง....ให้ข้องอยู่, อันยัง....ให้ติดอยู่.อภิปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, ยุ. ลง ย ปัจ.ประจำธาตุแปลงชฺยเป็นชฺช ยุเป็น อน.
  20. อภิสมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ยิ่ง, ความตรัสรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  21. อภิสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบยิ่ง, ความประพฤติอันดี, มารยาทอันดี, อภิสมาจารคือ ธรรมเนียมของภิกษุ ขนบธรรมเนียมของภิกษุมารยาทอันดีงามของภิกษุเป็นสิกขาบทที่มานอกพระปาติโมกข์ ปรับอาบัติ๒อย่างคือถุลลัจจัยมีห่าง ๆ และ ทุกกฏเป็นพื้น.
  22. อภิสมาจาริก : (วิ.) อันเป็นอภิสมาจาร.
  23. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  24. อภิสฺสร : ค. ผู้เป็นอิสระยิ่ง, ผู้เป็นใหญ่, นาย
  25. อภิสิญฺจน : นป. การอภิเษก, การประพรม, การถวายน้ำศักดิ์สิทธิ์ให้เป็นพระราชา, การแต่งตั้ง, การบรรลุ
  26. อภิเสกเคหปฺปเวสนวิวาหมงฺคล : (นปุ.) มงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเข้าไปสู่เรือนเป็นที่อภิเษกและมงคลอันบุคคลพึงทำในกาลเป็นที่นำเจ้าบ่าวไปสู่เรือนอื่น(เรือน ฝ่ายเจ้าสาว).
  27. อภุ : (นปุ.?)ความไม่เจริญ, ความเสื่อม.นปุพฺโพ, ภู วฑฺฒเน, อ. รัสสะอูเป็นอุ.
  28. อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง; ๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
  29. อภูตปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยเป็นแล้ว, ไม่เคยมีแล้วไม่เคยเกิดแล้ว.
  30. อภูตอภูตวจน : (นปุ.) คำไม่เป็นแล้ว, คำไม่จริงแล้ว, คำไม่จริง, คำไม่เป็นจริง, คำเท็จ
  31. อภูต อภูตวจน : (นปุ.) คำไม่เป็นแล้ว, คำไม่ จริงแล้ว, คำไม่จริง, คำไม่เป็นจริง, คำเท็จ
  32. อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  33. อมนุญฺญ : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เป็นที่ยินดี
  34. อมนุสฺสิก : ค. เกี่ยวกับอมนุษย์, เป็นของอมนุษย์
  35. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  36. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  37. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  38. อมฺมณ : (นปุ.) อัมมณะชื่อมาตราตวง๑๑ โทณะเป็น ๑ อัมมณะ.อมฺคมเน, อมฺภฺสทฺเทวา, ยุ.
  39. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  40. อมรตฺต : นป. ความเป็นคืออันไม่ตาย, อมฤตภาพ
  41. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  42. อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
  43. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  44. อมหคฺคต : ค. (จิต) ไม่ถึงความเป็นใหญ่
  45. อมฺหมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยหิน, เป็นวิการแห่งหิน.อสฺม+มยปัจ.แปลงสฺมเป็นมฺห.
  46. อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ; ๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
  47. อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
  48. อมามก : ค. ไม่ใช่ของเรา, ไม่เป็นของเรา
  49. อมุขร : ค. ไม่เป็นผู้ปากกล้า, ไม่เจรจาหยาบคาย
  50. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | [3701-3750] | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.1082 sec)