Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นครั้งเป็นคราว, ครั้ง, เป็น, คราว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นครั้งเป็นคราว, 4220 found, display 4001-4050
  1. อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
  2. อาลย : (วิ.) พัวพัน, ห่วงใย, ลวงอุ.ปพฺพชิตาลยลวงว่าเป็นบรรพชิต.ส. อาลย.
  3. อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
  4. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  5. อาลุมฺปการ : ค. ปั้นเป็นคำ, แบ่งเป็นคำ
  6. อาโลกกสิณ : (นปุ.) การเพ่งแสงสว่าง, อาโลกกสิณ (การบริกรรมโดยการเพ่ง แสงสว่างเป็นอารมณ์).
  7. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  8. อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
  9. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  10. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  11. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  12. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  13. อาเวณิก, - ณิย : ค. พิเศษ, เฉพาะ, คนละส่วน, เป็นอิสระ, เป็นแผนกๆ
  14. อาเวธ : ค. ถูกแทง, เป็นรู, เป็นแผล
  15. อาสน : (วิ.) เป็นที่นั่ง, เป็นที่อันเขานั่ง.
  16. อาสนสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่นั่ง, ศาลา สำหรับนั่ง, โรงฉัน, หอฉัน.
  17. อาสภฏฺฐาน : นป. คอกวัว, ตำแหน่งที่มีชื่อเสียง, ความเป็นผู้นำ
  18. อาสย : (วิ.) เป็นที่มานอน, เป็นที่อาศัย.
  19. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  20. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  21. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  22. อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
  23. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  24. อาสิ : ก. ได้เป็นแล้ว
  25. อาสุ : ก. ได้เป็นแล้ว
  26. อาหจฺจปาท : (ปุ.) เตียงมีขาจรดแม่แคร่. วิ. อฏนิยํ อาหจฺโจ ยสฺส ปาโท อาหจฺจปาโท. อาหจฺจ วา ปาโท ติฏฺฐติ ยสฺเสติ อาหจฺจปา โท. อาหจฺจ ของ วิ. หลัง เป็นศัพท์ กิริยากิตก์ ตูนาทิปัจ.
  27. อาหริม : ค. อันนำมา, เป็นเสน่ห์, ล่อให้หลง
  28. อาฬน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาเผา, ป่าช้า. วิ. อาเนตฺวาทหียเตอเตฺรติ อาฬนํ. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ, หฺโลโป.
  29. อาฬหณ อาฬหน : (นปุ.) หลักเป็นที่นำนักโทษ ประหารมาฆ่า, ที่ประหารชีวิต. อาปุพฺโพ, ทหฺ หึสายํ, ยุ.
  30. อาฬหณ อาฬหน อาฬาหณ อาฬาหน : (นปุ.) ป่าช้า วิ. อาคนฺตวา ทหนฺติ อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ. อาเนตฺวา ทหียเต อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. (ที่เป็นที่นำศพมาเผา).
  31. อิงฺขติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  32. อิงฺคติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  33. อิจฺจ : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความไป, ฯลฯ. อิ คติยํ, ริจฺโจ.
  34. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  35. อิจฺฉาปกต : ค. ผู้มีความต้องการเป็นปกติ
  36. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  37. อิฏฺฐกา : (อิต.) อิฐ (ดินเผา หรือ ปูนซิเมนต์ผสม กับทรายหล่อเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือสี่เหลี่ยม ผืนผ้า), แผ่นอิฐ, กระเบื้อง. อิสุ อิจฺฉายํ, ณฺวุ. ส. อิษฺฏกา.
  38. อิณปริโภค : (ปุ.) การบริโภคด้วยความเป็น หนี้.
  39. อิตฺตรตา : อิต. ความเป็นของเปลี่ยนแปลง
  40. อิตฺถตฺต : นป. ๑. ภพนี้, ชาตินี้; ๒. สตรีภาพ, ความเป็นหญิง
  41. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  42. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  43. อิตฺถมฺภุต (อิตฺถมฺภูต) : ค. เป็นเช่นนี้
  44. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  45. อิตฺถินิมิตฺต : นป. อิตถีนิมิต, เครื่องหมายความเป็นหญิง
  46. อิตถี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (ผู้ ในที่นี้เป็นคำ นาม). วิ. อิจฺฉตีติ อิตฺถี (ผู้ปรารถนาชาย). อิจฺฉียตีติ อิตฺถี (ชายอยากได้). นรํ อิจฺฉาเปตีติ อิตฺถี (ผู้ให้ชายปรารถนา). อสุ อิจฺฉายํ, อีสาตฺถีติ สุตฺเตน ตฺถีปจฺจโย, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. อถวา, อิสฺ ปฏฺฐเน, ถี, สสฺส โต. ส. สตฺรี.
  47. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  48. อิตถีนิมิตฺต : (นปุ.) เครื่องหมายของหญิง. อิตฺถี+นิมิตฺต. เครื่องหมายของเพศหญิง. อิตฺถีเวส+นิมิตฺต ลบ เวส. เครื่องหมาย ของความเป็นหญิง. อิตฺถีภาว+นิมิตฺต ลบ ภาว.
  49. อิติ : (กิริยาอาขยาด) ย่อมเป็นไป. อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  50. อิติหีติห : (วิ.) เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาอย่างนี้ อย่างนี้, เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาดังนี้ดังนี้, จริงอย่างนี้, จริงอย่างนี้อย่างนี้.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | [4001-4050] | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4220

(0.0952 sec)