Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างหวุดหวิด, หวุดหวิด, อย่าง , then หวุดหวิด, อยาง, อย่าง, อยางหวดหวด, อย่างหวุดหวิด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างหวุดหวิด, 431 found, display 201-250
  1. นิพฺภร : ก. วิ. อย่างมากมาย, อย่างเร่าร้อน
  2. นิสมฺม : ก. วิ. อย่างใคร่ครวญ, อย่างเอาใจใส่, อย่างระมัดระวัง
  3. นิสมฺมการี : ค. ผู้ใคร่ครวญกระทำ, ผู้ทำอย่างใคร่ครวญ
  4. นิสฺเสส : ก. วิ. อย่างไม่มีส่วนเหลือ, หมด
  5. เนกาการ : ค. มากมายหลายอย่าง
  6. ปกติคมน : นป. การไปอย่างธรรมดา
  7. ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
  8. ปญฺจวิธ : ค. ห้าอย่าง
  9. ปญฺจาวุธ : ป. อาวุธห้าอย่าง (ดาบ, หอก, ขวาน, ธนู, ตะบอง)
  10. ปฏฺโฎลิ : นป. กะพล้อ, กระบอกตักน้ำปากแหลมอย่างปากพวยกา
  11. ปฏิวิสิฏฺฐ : ค. เฉพาะอย่าง, ซึ่งเป็นพิเศษ
  12. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  13. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  14. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  15. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  16. ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
  17. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  18. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  19. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  20. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  21. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  22. ปรมตฺถโต : อ. โดยปรมัตถ์, โดยความหมายอย่างสูงสุด, โดยความหมายที่จริงแท้
  23. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  24. ปรมตา : อิต. ความเป็นอย่างยิ่ง, ประมาณสูงสุด
  25. ปรมทุกฺกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยยากอย่างยิ่ง.
  26. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  27. ปรมาณุ : (วิ.) น้อยอย่างยิ่ง.
  28. ปรมาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออย่างยิ่ง, ชื่อ, ปรมา- ภิไธย (ชื่อ ) ใช้เฉพาะพระเจ้าแผ่นดิน.
  29. ปสยฺห : อ. โดยอำนาจ, อย่างมีอำนาจ, อย่างมีกำลัง, โดยบังคับ
  30. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  31. ปิลวติ, (ปฺลวติ) : ก. ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, เคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว, ลอยไป
  32. ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
  33. ปุถุคุมฺพ : ป. ผู้ชำนาญในศิลปะหลายอย่าง
  34. ปุถุภูต : ค. ซึ่งแผ่ออกไปอย่างกว้างขวาง
  35. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  36. เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
  37. ผรุส : (วิ.) ขรุขระ, หยาบ, หยาบคาย, อย่างหยาบ, ปอน, เศร้าหมอง.
  38. ผลิก : (ปุ.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  39. ผลิกา : (อิต.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  40. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  41. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  42. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  43. พฺยาโรสนา : (อิต.) ความกริ้วกราด (โกรธมาก), กราดกริ้ว เกรี้ยวกราด (ดุและด่าอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ). วิ. อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  44. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  45. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  46. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  47. พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
  48. พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
  49. พลิสมสิกา : อิต. การเกี่ยวด้วยเบ็ด, การทรมานกายอย่างหนึ่ง
  50. พหุธา : อ. โดยมาก, ส่วนมาก, หลายอย่าง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-431

(0.0669 sec)