Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 251-300
  1. โคธุม : (ปุ.) โคธุมะ ชื่อพืชจำพวกข้าวอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง, ข้าวละมาน ชื่อข้าวป่า ชนิดหนึ่งขึ้นแซมต้นข้าว ข้าวนก ก็เรียก. คุธฺ ปริเวธเน, อุโม. เป็น โคธูม ก็มี.
  2. โครกฺข : (ปุ.) ชาวนา, ชาวไร่. วิ. คํ ปฐวึ รกฺขตีติ โครกฺโข. คปุพฺโพ, รกฺขฺ ปาลเน, อ, อสฺโส (แปลง อ ที่ ค เป็น โอ).
  3. โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
  4. โคฬปตฺต : (นปุ.) กระหล่ำปลี.เบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, ณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  5. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  6. ฆจฺจ : (ปุ.?) การฆ่า, การทำลาย, การเบียดเบียน, การกำจัด. หนฺ หึสายํ, โณฺย. แปลง ห เป็น ฆ นฺ เป็น ตฺ ลบ ณฺ รวมเป็นฆตฺย แปลงตฺย เป็น จฺจ.
  7. ฆฏ : (ปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  8. ฆฏา : (อิต.) หม้อ, หม้อน้ำ, ตุ่ม, ตุ่มใหญ่, กระออม (หม้อน้ำ) กะออม กะละออม กัลออม ก็เรียก, เปรียง (น้ำมัน น้ำมันไขข้อของวัว), แนว, ราว (แถวแนว) ฆฏฺ จลเน, อ. เป็น ฆฏก โดยลง ก สกัดบ้าง เป็น ฆฏี โดย ลง อี ปัจ. บ้าง.
  9. ฆณ ฆน : (นปุ.) ฆณะ ฆนะ ชื่อองค์ที่ ๔ ใน ๕ องค์ของดุริยางค์, สัมมดาฬ เป็นต้น ชื่อ ฆณะ ฆนะ. หนฺ หึสายํ. อ, หสฺส โฆ. อภิ ฯ ลง ณ ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ. สัมมดาฬ คือ ดาฬที่ทำด้วยไม้ สมฺมตาฬํ นาม กฏฺฐมยตาฬํ. กังสดาล ( ระฆังวง- เดือน ) คือ ดาฬที่ทำด้วยโลหะ กํสตาฬํ นาม โลหมยํ. สิลาตาฬะ คือดาฬที่ทำด้วย สิลาและแผ่นเหล็ก สิลาย จ อโยปฏฺเฏน จ วาทนตาฬํ สิลาตาฬํ. ฏีกาอภิฯ
  10. ฆมฺม : (วิ.) ร้อน, อบอุ่น. ฆรฺ เสจเน, รมฺโม. ลบ รฺ และลบตัวเองคือ ร หรือลง ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ
  11. ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
  12. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  13. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  14. ฆาฏก : (ปุ.) ต้นมะขาม, ต้นมะกา, ต้นกระ- เบียน, ต้นมูกใหญ่. คนผู้ฆ่า. ฯลฯ หฏฺ หึสายํ, ณฺวุ. แปลง ห เป็น ฆ.
  15. โฆณส : (ปุ.) งู. โฆรศัพท์ ส ปัจ. แปลง ร เป็น ณ.
  16. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  17. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  18. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  19. จกฺขุมนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีจักษุ (มีจักษุ ๕) เป็น พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม, พระพุทธเจ้า.
  20. จงฺกมน : (นปุ.) การเดินไปและ การเดินมา, การเดินไปมา, การก้าวไป และการก้าวมา, การก้าวไปก้าวมา. วิ. กโม จ อากโม จ จงฺกโม. กโม จ อากมนญฺจ จงฺกมนํ. กม+อากม,กม+อากมน. แปลง ก เป็น จ แปลง ม เป็น นิคคหิต ลบ อา แปลง นิคคหิต เป็น งฺ.
  21. จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
  22. จณฺฑิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนดุร้าย, ฯลฯ จณฺฑาล + กณฺ ปัจ. ภาวตัท แปลง อา เป็น อิ แปลง ล เป็น ก.
  23. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  24. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  25. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  26. จตุปญฺจนาฬิมตฺต : (วิ.) มีทะนานสี่และ ทะนานห้าเป็นประมาณ เป็น ฉ.ตุล. มี อ. ทิคุ,อ.ทิคุ. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  27. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  28. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  29. จน : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. เป็น อสากลฺยตฺ- ถวาจกนิปาต อภิฯน. ๔๒๓.
  30. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  31. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  32. จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
  33. จมฺม : (นปุ.) โล่ ชื่อเครื่องปกป้องศัตรา มีรูป ร่างต่างๆ จรฺ คติ-ภกฺขเณสุ, โม. ลบ รฺ ซ้อน มฺ หรือแปลง รฺ เป็น มฺ หรือตั้ง จมุ อทเน, อ. ซ้อน มฺ.
  34. จมู : (อิต.) เสนา, กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. จมุ อทเน (คมเน), อู อภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น จมุ ฎีกาอภิฯลง อู ปัจ. เป็น จมู. ส. จมู.
  35. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  36. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  37. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  38. จิงฺคุลก, - คูลก : นป. ลูกเดือย, (บางแห่งเป็น ฑิงฺคุลก ก็มี เป็น ฑงฺคุลก ก็มี)
  39. จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
  40. จิตก : (ปุ.) เชิงตะกอน ( ฐานสำหรับเผาศพ ) วิ. จิยฺยเต ยตฺถ โส จิตโก. จิ จเย, โต สตฺเถ โก. เป็น จิตกา ( อิต.) ก็มี.
  41. จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
  42. จิตฺตกา : (อิต.) เครื่องลาดขนสัตว์มีรูปอันวิจิตร ด้วยการปัก,เครื่องลาดขนสัตว์ปักรูปวิจิตร. วิ จิตฺตรูปํ อสฺส อตฺถีติ จิตฺตกา. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  43. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  44. จีร จีริก จีรี : (ปุ.) เรไร, จักจั่น, จิ้งหลีด. วิ. จีรียติ สทฺทายตีติ จีรี. จีริ หึสายํ, อี. เป็น อิต. ก็มี.
  45. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  46. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  47. จุจุก : (นปุ.) หัวนม. จุ จวเน, อุโก, ทฺวิตฺตํ. จญฺจุ คติยํ วา, อุโก, ญฺโลโป, อสฺสุ. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น จูจุก โดยทีฆะต้นธาตุเมื่อ แปลงเป็นจุจุ แล้ว.
  48. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  49. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  50. จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1259 sec)