Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 351-400
  1. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  2. ชาน ชานน : (นปุ.) อันรู้, ความรู้, ญา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ญา เป็น ชา ยุ เป็น อน, อานน. ส. ชานน.
  3. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  4. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  5. ชานุปฺปมาณอุรุปฺปมาณกฏิปฺปมาณาทิ : (วิ.) มีน้ำมีเข่าเป็นประมาณและมีน้ำมีขาอ่อน เป็นประมาณ และมีน้ำมีสะเอว เป็นประ มาณเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตุล, ฉ. ตุล., ฉ.ตุล. และ ส.ทวัน. เป็นท้อง.
  6. ชามาตุ : (ปุ.) ลูกเขย (ชายผู้เป็นสามีของลูก สาว) วิ. ปปุตฺเต ชเนตีติ ชามาตา (ผู้ยัง หลาน ท.ให้เกิด). ชนฺ ชนเน, ริตุ. แปลง อ ที ช เป็น อา อ อาคม (เพื่อให้ นฺ เป็น น) แปลง น เป็น มา ลบ ริ.
  7. ชายปติก ชายาปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชายปติโก ชายาปติ วา. ศัพท์ ตันรัสสะ อา เป็น อ กสกัด.
  8. ชาลา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ไฟ, เปลวไฟ, โคมไฟ. วิ. ชลตีติ ชาลา. ชลฺ ทิตฺติยํ, โณ. ชลฺ อปวารเณ วา. ชิ อภิเวชิเต วา, โล. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา.
  9. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  10. ชิคุจฺฉ : (วิ.) ติเตียน, เกลียด, น่าเกียด, ชัง, น่า ชัง. คุปฺ กุจฺฉเน, โฉ. เทวภาวะ คุ แปลง คุ เป็น ชุ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ปฺ เป็น จฺ.
  11. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  12. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  13. ชิร ชีร : (วิ.) แก่, คร่ำคร่า, แก่คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม, ยุ่ย, ย่อย. ชรฺ ธาตุ อ ปัจ.แปลง อ ที่ ช เป็น อี ศัพท์ต้นรัสสะ หรือตั้ง ชีรฺ พฺรูหเณ, อ.
  14. ชีรณ : (นปุ.) ความแก่, ฯลฯ ชรฺ ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง อ เป็น อี. ส. ชีรฺณ.
  15. ชีว ชีวน : (วิ.) เป็น ( ยังไม่ตาย ), เป็นอยู่.
  16. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  17. ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
  18. ชูตการ : (ปุ.) นักเลง, นักเลงการพนัน, นักเลง สกา. วิ. ชูตํ กโรตีติ ชูตกาโร. เป็น ชุตการบ้าง.
  19. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  20. เชฏฺฐมาส : (ปุ.) เดือนมีพระจันทร์เพ็ญสวย ฤกษ์เชษฐา, เดือนเจ็ด. เป็น เชฏฺฐมูลมาส ก็มี.
  21. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  22. เชยฺย : (วิ.) พึงชนะ วิ. เชตพฺพนฺติ เชยฺยํ. ชิ ธาตุ ณฺย ปัจ. วิการ อิ เป็น เอ ซ้อน ยุ.
  23. โชติรส : (วิ.) มีรัศมีอันรุ่งเรือง, (มณี) มีน้ำ (รัศมี) อันโชติช่วง. โชติ+รํสิ ลบนิคคหิต แปลง อิ เป็น อ หรือ โชติ + รส (รัศมี) ก็ได้.
  24. ฌาน : (นปุ.) ความคิด, ความพินิจ, ความเพ่ง. วิ. ฌายเตติ ฌานํ. เฌ จินฺตายํ, ยุ. ปจฺจนิเก นีวรณธมฺเม ฌาเปตีติ วา ฌานํ. ฌปฺ ฌาปฺ วา ทาเห, ยุ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. ฌายตีติ ฌานํ. เฌ ธาตุ ยุ ปัจ. ใน วิ. แปลง เอ เป็น อาย บทปลงแปลง เอ เป็น อา.
  25. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  26. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  27. ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
  28. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  29. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็นเป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  30. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  31. ฏาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, ฏี อจฺฉาทเน, โร. แปลง อี เป็น อา
  32. เฏร เฏรก : (วิ.) เหล่ เช่นตาเหล่. ฏุ ปีฬนธํ – เสสุ, โร. แปลง อุ เป็น เอ ศัพท์หลัง ก สกัด. ดำรงค์อยู่. ฐา คตินิวตฺติยํ, อ. .
  33. ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
  34. ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  35. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  36. ฑาก : (ปุ.) ผัก (สำหรับดองหรือแกง), ผัก ดอง, เมี่ยง. วิ. เฑติ ภตฺต เมเตนาติ ฑาโก. ฑิ ปเวสเน, โณ. พฤทธิ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา ก สกัด หรือตั้ง ฑํสฺ+ณฺวุ ลบ นิคคหิต และ สฺ
  37. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  38. ตณฺฑุเลยฺย : (ปุ.) กระเพรา, มะพลับ. วิ. ตมียติ วิการ มาปาทียตีติ ตณฺฑุโล. ตณฺฑุลโต ชายตีติ ตณฺฑุเลยฺโย. เณยฺย ปัจ. เป็น ตณฺฑุลิย บ้าง.
  39. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  40. ตตฺต : (ปุ.) แดด. ตปฺ ทาเห, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ
  41. ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
  42. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  43. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  44. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  45. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  46. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  47. ตนฺที : (อิต.) ความหลับ, ฯลฯ อิ ปัจ. เป็น ตนฺทีบ้าง.
  48. ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
  49. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  50. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1338 sec)