Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กลายเป็น, เป็น, กลาย , then กลาย, กลายเป็น, กฬาย, ปน, เป็น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กลายเป็น, 4313 found, display 3601-3650
  1. อเปตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เคารพยำเกรงบิดา, ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูลแก่บิดา
  2. อพฺพตน : ป., ค. ความเป็นผู้ไม่มีวัตร, การทำลายกฎศีลธรรม, ผิดศีล
  3. อพฺพหณอพฺพหน : (วิ.) เป็นเครื่องถอนออก, เป็นเครื่องชักออก.อาปุพฺโพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, รสฺโส, พฺสํโยโค.
  4. อพฺพหณ อพฺพหน : (วิ.) เป็นเครื่องถอนออก, เป็นเครื่องชักออก. อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน , ยุ, รสฺโส, พฺสํโยโค.
  5. อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
  6. อพฺโพจฺฉินฺน : ค. ไม่ถูกตัด, ไม่ขาด, เสมอ, เป็นนิจ
  7. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  8. อพฺภกฺขาน : (นปุ.) การกล่าวตู่, การกล่าวครอบงำ, การกล่าวข่มขี่, คำกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวหาความ.อภิ+อกฺขานแปลงอิเป็นยรวมเป็นภฺยแปลงภฺยเป็นพฺภ.หรือแปลงอภิเป็นอพฺภ. อสฺจเจนอกฺขานํอพฺภกฺขานํ.ตุจฺฉภาสนํอพฺภกฺขานํนาม.
  9. อพฺภาน : (นปุ.) การเรียกเข้า, การชักกลับมา, การรับรอง, ความรับรอง, อัพภาน.การสวดเมื่อภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งได้ประพฤติมานัสครบ๖ราตรีหรือประพฤติมานัสและอยู่ปริวาสแล้วเพื่อให้กลับเป็นผู้บริสุทธิ์เรียกว่าสวดอัพภาน.
  10. อพฺภุทาหรติ : ก. นำมา, รับมา; ตั้งต้น; แนะนำ, ยกมาเป็นตัวอย่าง
  11. อพฺภุ(ภู) ตธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน ; เป็นชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์
  12. อพฺภูตธมฺม : (ปุ.) ธรรมน่าอัศจรรย์, อัพภูตธรรม(พระพุทธพจน์อันประกอบแล้วในธรรมไม่เคยเป็นเป็นแล้ว)ชื่อองฺค์ที่๘ของนวังค-สัตถุสาสน์.
  13. อพฺเภติ : ก. อัพภาน, เรียกกลับมา, เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติอยู่ปริวาสแล้วให้กลับเข้ามาเป็นผู้มีความบริสุทธิ์
  14. อพฺโภกาสิก : ป. ผู้อยู่ในที่กลางแจ้ง, ผู้อยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
  15. อพฺโภกาสิกงฺค : นป. องค์คุณของภิกษุผู้ถือการอยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร
  16. อพฺยยีภาว : (ปุ.) ความเป็นของคงที่, ฯลฯ, อัพยยีภาวะชื่อของสมาสอย่างหนึ่ง.
  17. อพฺยสน : (วิ.) มิได้ทำกรรมอันเป็นแดนแห่งความฉิบหาย.
  18. อพฺยากต : (วิ.) อันเป็นอัพยากฤต.
  19. อพฺยากตธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอัพยากฤต.
  20. อภพฺพ : (วิ.) ไม่ชอบ, ไม่ควร, ไม่สมควร, ไม่เป็นไปได้, เป็นไปไม่ได้, อาภัพ(ตกอับวาสนาน้อย).ส.อภวฺย.
  21. อภพฺพฏฺฐาน : นป. ฐานะที่ไม่ควร, ฐานะที่เป็นไปไม่ได้
  22. อภพฺพตา : อิต. ความไม่สมควร, ความเป็นไปไม่ได้
  23. อภว : (ปุ.) ความไม่มี, ความไม่เป็น, ความเสื่อมความฉิบหาย, ความพินาศ.ส. อภว.
  24. อภิชฺฌาลุอภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิชฌาเป็นปกติ.ศัพท์หลังกสกัด.
  25. อภิชฺฌาลุ อภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิ ชฌาเป็นปกติ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  26. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  27. อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
  28. อภิญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความรู้ยิ่ง, ผู้เชี่ยวชาญ
  29. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  30. อภิณฺห : (วิ.) เฉพาะวัน, ทุกวัน ๆ, เสมอ (ร่ำไปเป็นนิตย์).
  31. อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
  32. อภิณฺหโส : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมออภิฯเป็นปุนัปปุนัตถนิบาตรูปฯเป็นกาลสัตตมีนิบาต.
  33. อภิทกฺขิณ : ก. วิ. เป็นข้างขวา, ให้เป็นข้างขวา
  34. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  35. อภิธมฺมตฺถสงฺคห : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งเนื้อความอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วในพระอภิธรรม.
  36. อภิธมฺมตฺถสงฺคหอภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
  37. อภิธมฺมตฺถสงฺคห อภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
  38. อภิธมฺมปิฏก : (นปุ.) พระอภิธรรมปิฎกเป็นปิฎกที่ ๓ ของไตรปิฎกเป็นปรมัตถเทสนา.
  39. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  40. อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
  41. อภิปุพฺพ : (วิ.) มีอภิเป็นบทหน้า, มีอภิอยู่หน้า.
  42. อภิภวนียตา : อิต. ความเป็นผู้อันใครๆ พึงครอบงำได้
  43. อภิภู : (ปุ.) พระผู้เป็นยิ่งวิ.อภิภวิตฺวาภวตีติอภิภู.อภิ+ภูธาตุกฺวิปัจ.
  44. อภิโยพฺพน : นป. ความเป็นหนุ่มสาวยิ่ง
  45. อภิรต : ค. อันยินดียิ่ง, อันเป็นที่พอใจยิ่ง
  46. อภิรตตฺต : นป. ความเป็นผู้ยินดียิ่ง, ความเป็นผู้ชอบใจยิ่ง
  47. อภิราม : ค. อันยินดี, อันเป็นที่พอใจ
  48. อภิลกฺขิตตฺต : นป. ความเป็นคืออันกำหนด, ความตั้งใจไว้
  49. อภิวาท : (ปุ.) การกราบ, ฯลฯ.วนฺทฺธาตุณ, ยุปัจ.ลบนฺทีฆะอที่วเป็นอา.ส.อภิวาทอภิวาทน.
  50. อภิวาทน : (นปุ.) การกราบ, ฯลฯ.วนฺทฺธาตุณ, ยุปัจ.ลบนฺทีฆะอที่วเป็นอา.ส.อภิวาทอภิวาทน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | [3601-3650] | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4313

(0.1141 sec)