Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 2451-2500
  1. ปทน : (นปุ.) การไป, การถึง, การดำเนินไป, ความเป็นไป. ปทฺ คติยํ, ยุ.
  2. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  3. ปทม : (นปุ.) บัว, บัวหลวง (บัวแดง), ดอกบัว. บางมติว่า แผลงเป็น ปทฺม ได้. ส. ปทฺม.
  4. ปทวลญฺช : (ปุ.) รอยเป็นที่กดลง, รอยเท้า.
  5. ปทาลิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกทำลายแล้ว
  6. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  7. ปทุมวฺยูห : ป. ยุทธวิธีแบบหนึ่งซึ่งมีการจัดพลรบเป็นแนวป้องกันรูปวงกลมซ้อนกันเป็นชั้นๆ
  8. ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  9. ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
  10. ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
  11. ปเทสิก : ค. ซึ่งมีในประเทศ, ซึ่งมีในบางถิ่น, ซึ่งเป็นบางส่วน
  12. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  13. ปโทสิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ, ซึ่งเสียหาย, ซึ่งเป็นความผิด
  14. ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
  15. ปธานฆร : นป. เรือนเป็นที่กระทำความเพียร
  16. ปธานภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง...เป็นประธาน, ความเป็นแห่งประธาน.
  17. ปนฺตเสน : ค. ผู้อยู่ในที่สงัด, ผู้อยู่ห่างไกลจากผู้คน, เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  18. ปนฺถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ทางเปลี่ยว, ถนน. วิ. ปถยนฺติ ยนฺตฺยเนนาติ ปนฺโถ. ปถิ คติยํ, ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น นฺ อภิฯ และฎีกาฯ ลง นฺ อาคมกลางธาตุ.
  19. ปนฺนธช : ค. ผู้ชักธงลงแล้ว, ผู้เสร็จสิ้นการต่อสู้แล้ว, เป็นพระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  20. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  21. ปนาลิ ปนาฬิ ปนาลี : (อิต.) ทางน้ำไหล, รางน้ำ, ท่อน้ำ. ปปุพฺโพ, นลฺ คนฺเธ, อ. ฎีกาอภิฯ ว่าเป็น ปุ และ อิต.
  22. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  23. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  24. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  25. ปปียน : ค. ซึ่งเป็นของดื่มได้, ซึ่งเป็นของสำหรับดื่ม
  26. ปปุปฺผก : (นปุ.) ที่เป็นที่บานไสว, เตภูมิ- กวัฏฏะเป็นที่เบิกบาน, ลูกธนูที่มีดอกไม้ ใส่ปลาย, ลูกดอก.
  27. ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
  28. ปพฺพวลฺลิ : อิต. เป็นคำตัดมาจาก “กาฬปพฺพวลฺลิ” ซึ่งแปลว่า “เถาวัลย์ ซึ่งมีข้อดำ” เป็นเถาวัลย์ชนิดหนึ่ง
  29. ปพฺภารฏฺฐาน : นป. ที่เป็นเนินลาด
  30. ปภว : (วิ.) เป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิด, เป็นเหตุเกิดก่อน, เป็นเหตุ, เป็นมูลเค้า, เป็นต้นเค้า.
  31. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  32. ปภุตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล. ปภุ + ตฺต ปัจ. ภาวตัท.
  33. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  34. ปเภทน : (นปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  35. ปมาณก : ค. ซึ่งมี...เป็นประมาณ, ซึ่งมีขนาดเท่า, ซึ่งวัดได้เท่า
  36. ปมาณกต : ค. ที่เขาทำให้เป็นประมาณ, ถือเอาเป็นมาตรฐาน, วางเป็นตัวอย่าง, เป็นเครื่องวัด
  37. ปมาณิก : ค., ป. ซึ่งถือเอกเป็นประมาณ, ซึ่งวัดด้วย, ซึ่งมีประมาณเท่า, ซึ่งขนาดเท่า; ผู้ถือประมาณ, ผู้วัด, ผู้ตัดสิน
  38. ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
  39. ปมาทวตา : อิต. ความเป็นผู้มีความประมาท
  40. ปมุจฺฉติ : ก. เป็นลม, สลบ
  41. ปมุจฺฉิต : ค. เป็นลมสลบ; มัวเมา, ลุ่มหลง, สยบ
  42. ปมุตฺต : ค. ผู้ถูกปลดปล่อย, ผู้ถูกเหวี่ยง, ผู้ถูกสลัดไปแล้ว; ผู้หลุดพ้น, ผู้เป็นอิสระ
  43. ปมุตฺติ : อิต. การปลดปล่อย, ความหลุดพ้น, ความเป็นอิสระ
  44. ปมุตฺย : นป. ความเป็นผู้หลุดพ้น
  45. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  46. ปโยธร : (ปุ.) อวัยวะอันทรงไว้ซึ่งน้ำ, นม ( เนื้อที่งอกขึ้นเป็นเต้าที่หน้าอกของหญิง ) วิ. ปโย ขีรํ ธาเรตีติ ปโยธโร.
  47. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  48. ปรคุณมกฺขลกฺขณ : (วิ.) ผู้มีอันลบหลู่ซึ่งคุณ แห่งบุคคลอื่นเป็นลักษณะ.
  49. ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
  50. ปรทตฺตูปชีวี : (วิ.) ( เปรต ) ผู้อาศัยทานอัน บุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ, ผู้มีปกติ เข้าไปอาศัยทานอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่, ผู้อาศัยทานอันบุคคลให้เป็นอยู่, ผู้ เป็นอยู่ ด้วยทานอันบุคคลให้ .
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | [2451-2500] | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1294 sec)