Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 51-100
  1. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  2. โปน : (นปุ.) อันชำระ, อันทำให้บริสุทธิ์, การชำระ, การทำให้บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, ยุ. แปลง อุ เป็น โอ.
  3. กกฺก : (ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน, อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล.
  4. กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
  5. กกจ : (ปุ.) เลื่อย, ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, สวาด ชื่อ ไม้เถา มีหนาม. กจฺ พนฺธเน, อ, ทฺวิตฺตํ แปลง ก เป็น กก.
  6. กกุฏ : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กุกฺ อาทาเน, อโฏ, อุสฺสตฺตํ, อสฺสุตฺตญฺจ (แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ และแปลง อ ที่ ก เป็น อุ).
  7. กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
  8. กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
  9. กจฺจ : (ปุ.) คนสวย, คนงาม, คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง จ เป็น จฺจ.
  10. กช : (ปุ.) คานหาม. กจฺ พนฺธเน, อ. แปลง จ เป็น ช.
  11. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  12. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  13. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  14. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  15. กฐิ น : (วิ.) แข็ง, กักขละ, สาหัส. เลว, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, ด่วน, รีบ. กฐฺ กิจฺฉ ชีวเน, อิโน. แปลง ฐ เป็นเป็น กถิน บ้าง. ส. กฐิน.
  16. กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
  17. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  18. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  19. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  20. กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
  21. กณิการ กณฺณิการ : (ปุ.) กรรณิการ์, กัณณิ การ์. วิ. อคนฺธปุปฺผตาย อตฺตานํ กณิฏฺฐํ  กโรตีติ กณิกาโร กณฺณิกาโร วา. กณิฏฺฐปุพฺโพ กรฺ กรเณ, โณ, ฏฺฐโลโป. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  22. กณิฏฺฐ กนิฏฺฐ : (วิ.) น้อยที่สุด, น้อยเกิน, หนุ่มเกิน, น้อย. อปฺป หรือ ยุว ศัพท์ อิฏฺฐปัจ. เสฏฐตัท. รูปฯ ๓๘๐ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. โมคฯณาทิกัณฑ์ ๑๓๗ แปลง อปฺป ยุว เป็น กณ กน. ส. กนิษฐ.
  23. กเณรุกา : (อิต.) ช้างพัง. ก สกัด อาอิต. ลง อิณุ ปัจ. เป็น กเรณุกา บ้าง. แปลง ณฺ เป็น รฺ.
  24. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  25. กตฺถ กตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในไหน, ในไร. กึ ศัพท์ ตฺถ, ตฺร ปัจ. แปลง กึ เป็น ก.
  26. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  27. กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  28. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  29. กทนฺน : (นปุ.) ข้าวน่าเกลียด. กุ+อนฺน แปลง กุ เป็น กท.
  30. กทร กทฺทร : (ปุ.) พยอมขาว, กฤษณา. วิ. อีสํ ขุทฺทกํ ทล เมตสฺสาติ กทโร. ลสฺส โร (แปลง ล เป็น ร).
  31. กทลิมิค : (ปุ.) กวาง, ชะมด. กทิ อวฺหาเณ, อโล, อิ. สำเร็จรูป เป็น กทลิ ฎีกาอภิฯ ลง อี เป็น กทลี. กทลิ จ โส มิโค เจติ กทลิ มิโค.
  32. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  33. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  34. กนฺตา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง (นามนาม มิใช่ วิเสสนะ), นาง, ภรรยา?, กานดา (หญิงที่ รัก). กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ อาอิต.
  35. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  36. กนิย : (วิ.) น้อยกว่า, น้อยเกิน, น้องกว่า, หนุ่ม เกิน, น้อย. อปฺป+อิย ปัจ. แปลง อปฺป เป็น กน.
  37. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  38. กปฏ : (ปุ.) ความคด, ความโกง, ความทรยศ, กบฏ ขบถ คือ การประทุษร้ายต่อราชอา- ณาจักร. วิ. กุจฺฉิเตน อากาเรน ปฏตีติ กปโฏ. ปฏฺ คติยํ, อ. แปลง กุ เป็น ก หรือแปลง กุ เป็น กา แล้วรัสสะตามนัย อภิฯ ส. กปฏ.
  39. กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
  40. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  41. กปิกจฺฉุ กปิตจฺฉุ : (ปุ.) อเนกคูณคัน, อเนกคุณคัน, อเนกคุณ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทย. วิ กปินํ กจฺฉุ ชเนตีติ กปิกจฺฉุ. ณุ ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ก เป็น ต.
  42. กปิฏฺฐ กปิตฺถ : (ปุ.) มะขวิด, ต้นมะขวิด. วิ. กวิมฺหิ วานเร ติฏฐตีติ กปิฏโฐ. กวิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตติยํ, กฺวิ, วสฺส โป, ฏฺสํโยโค. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ ซ้อน ต.
  43. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  44. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  45. กพฺย : (นปุ.) ความมีในกวี, ความเป็นกวี. วิ. กวิมฺหิ ภวํ กพฺยํ. กวิ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ ลบ ณฺ เป็น วฺย แปลง วฺ เป็น พฺ รูปฯ ๓๖๓, เรื่องของกวี วิ. กวิโน อิทํ กพฺยํ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
  46. กพล กพฬ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น นปุ. ก็มี.
  47. กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
  48. กมฺภ กุมฺภก : (ปุ.) เสากระโดง. กมุ อิจฺฉายํ, โภ, อสฺสุ, สกตฺเถโก. อภิฯ เป็น นปุ.
  49. กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
  50. กมฺมาส : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ดำมอ ๆ.. วิ. กโล เอว มาโส กมฺมาโส. แปลง ล เป็น ม หรือ กลํ มสตีติ กมฺมาโส. กลปุพฺโพ, มสิ ปริมาเณ, โณ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1317 sec)