Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 1051-1100
  1. สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
  2. เสขร : (ปุ.) ดอกไม้กรองบนศรีษะ, ดอกไม้ประดับบนศรีษะ, เทริด, มงกุฎ. วิ. สิขายํ ชาโต เสขโร. ร ปัจ. พฤทธิ อิ เป็น เอ. ลูกประคำ ก็แปล.
  3. เสขิย : (วิ.) อัน...พึงศึกษา, อัน...ควรศึกษา, อัน...ควรใส่ใจ, อัน...พึงใส่ใจ. สิกฺขฺ วิชฺโช ปาทาเน, โณฺย. วิการ อิ เป็น เอ ลบ กฺ และ ณฺ อิ อาคม.
  4. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  5. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  6. เสทช : (ปุ.) สัตว์เกิดแต่เหงื่อไคล, สัตว์เกิดแต่น้ำเน่า เช่น หนอนเป็นต้น. เสทกรณตฺตา อุสฺมา เสโท, ตโต ชาตา เสทชา. เป็น สํเสทช บ้าง.
  7. เสยฺย : (วิ.) ดี, ดีกว่า, ประเสริ,, ประเสริฐกว่า. ปสตฺถิ+อิย ปัจ. เสฎฐตัท, แปลง ปสตฺถ เป็น ส.
  8. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  9. เสยฺยา : (อิต.) การนอน, ที่นอน, ไสยา. สึ สเย, โย. แปลง อี เป็น เอ ย เป็น ยฺย รูปฯ ๖๔๕.
  10. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  11. โสขุมฺม : (นปุ.) ความเป็นแห่งความนิ่มนวล, ฯลฯ. สุขุม+ณฺย ปัจ. แปลง มฺย เป็น มฺม.
  12. โสคนฺธิก โสคนฺธิย : (นปุ.) จงกลนี วิ. สุคนฺเธน ยุตฺตํ โสคนฺธิกํ. ณิกปัจ. ศัพท์ หลัง แปลง ก เป็น ย.
  13. โสณฺฑ : (ปุ. นปุ.) งวงช้าง. โสณฺ คติยํ, โฑ. โสฑฺ คพฺเภ วา, โณ, นิคฺคหิตาคโม. เป็น โสณฑา (อิต.) บ้าง.
  14. โสณฺณ : (นปุ.) ทอง, ทองคำ, สุปุพฺโพ, สุฎฐุปุพฺโพ วา, อิณฺ คติยํ ทิตฺติยญฺจ, โณ, อุสฺโส (แปลง อุ ที่ สุ เป็น โอ). อโลโป, ทฺวิตฺตํ.
  15. โสณี : (อิต.) เอว, ตะโพก. สุ ปสเว, ณี. อภิฯ แต่ฎีกาอภิฯ ลง ณิ ปัจ. เป็น โสณิ. ไม่ลบ ณฺ. เป็น โสนี ก็มี.
  16. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  17. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  18. โสน : (ปุ.) สุนัข, หมา. โสณ ศัพท์แปลง ณ เป็น น.
  19. โสปฺป : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ. วิ. สุปนํ โสปฺปํ สุปฺ สยเน, โ ณฺย. แปลง ปฺย เป็น ปฺป.
  20. โสปาน : (ปุ. นปุ.) บันได, พะอง. วิ. สห อุปาเนน วตฺตตีติ โสปาโน. แปลง น เป็น ณ โสปาณ บ้าง. ส. โสปาน.
  21. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  22. โสภณ โสภณ : (วิ.) ดี, งาม, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. จรูญ, จำรูญ. รุ่งเรือง. สุภฺ ทิตฺติยํ, ยุ, อุสฺโส ศัพท์ต้น แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ. ส. โศภน.
  23. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  24. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  25. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  26. หฺชช : (วิ.) อันพึงใจ, น่าพึงใจ, น่ายินดี, ยินดี, พึงใจ. วิ. หทเย สาธุ หชฺชํ หทยสฺส วา ปิยนฺติ หชฺชํ. หทย+ณฺย ปัจ. ลบอักษรที่สุดแห่งศัพท์ คือ ย ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  27. หตฺถิก : (ปุ.) ตุ๊กตาช้าง. หตฺถี+ก ปัจ. ลงในอรรถเปรียบเทียบ รัสสะ อี เป็น อิ. สัตว์นี้เพียงดังช้าง วิ. หตฺถี อิว อยํ สตฺโต หตฺถิโก.
  28. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  29. หรายน : (นปุ.) ความละอาย, หเร ลชฺชายํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อาย.
  30. หริตายุตฺต : (ปุ.) หอม, หัวหอม. เป็น หริตายุต ก็มี.
  31. หริสฺสวณฺณ : (วิ.) มีสีดังว่าสีแห่งทอง, มีรัศมีอันงามดุจสีแห่งทอง, มีวรรณะเสมอด้วยทอง, มีสีเสมอด้วยทอง, มีผิวงามเหมือนทอง. วิ. หรินา สมาโน วณฺโณ ยสฺสาติ หริสฺสวณฺโณ. แปลง สมาน เป็น ส ซ้อน สฺ.
  32. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  33. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  34. หเว : (อัพ. นิบาต) จริง, แท้, แน่แท้, โดยแท้. เอกัง สัตถวาจา. แล เป็น ปทปูรณะ, เว้ย, โว้ย.
  35. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
  36. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  37. หิรญฺญ : (นปุ.) เงินทอง, ทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. แปลว่า เงิน เป็นส่วนมาก. หรฺ หรเณ, โญ. แปลง ญ เป็น ญฺญ ลบที่สุดธาตุ และแปลง อ ที่ ห เป็น อิ. หา จาเค คติยํ วา, อญฺโญ. แปลง หา เป็น หิร วิ. ชหาติ สตฺตานํ หิตนฺติ หิรญฺญํ (ให้ประโยชน์แก่สัตว์). ส. หิรณฺย.
  38. หิริ : (อิต.) ความละอาย, ความเกลียด, ความละอายบาป, ความเกลียดบาป, ความละอายใจ, ความละอายแก่ใจ. วิ. หิรียติ ปาปาติ หิริ. หิริ ลชฺชิยํ, อิ. ฎีกาอภิฯ เป็น หิรี ธาตุ อิ ปัจ. สำเร็จรูปเป็น หิรี. ไตร. ๒๐, ๒๒ ก็เป็น หิรี.
  39. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  40. หุสา : (อิต.) ลูกสะใภ้, หญิงสะใภ้. สุ สวเน, โส. แปลง สุ เป็น หุ อา อิต.
  41. เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
  42. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  43. เหยฺย : (วิ.) ควรละ, พึงละ. หา จาเค, โ ณฺย. แปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  44. เหลา : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
  45. อกฺกมอกม : (วิ.) เหยียบ.อาบทหน้า กมฺธาตุอปัจ.รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  46. อกฺกม อกม : (วิ.) เหยียบ. อา บทหน้า กมฺ ธาตุ อ ปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
  47. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  48. อกต : (วิ.) อันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้วแล้ว. แปลง ต เป็นเป็น อกฏ บ้าง.
  49. อกตญฺญุตา : (อิต.)ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยอะไร ๆ ทำไม่ได้แล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งพระนิพพานอันปัจจัยทำ (ปรุง แต่ง) ไม่ได้แล้ว, อกตฺ + ญู + ตา ปัจ. ซ้อน ญฺ รัสสะอู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจฺ รูป ฯ ๓๗๑.
  50. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | [1051-1100] | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1332 sec)