Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 1451-1500
  1. กามคุณ : (ปุ.) ชั้นของกาม, ส่วนอันเป็นกาม, ส่วนที่ปรารถนา, กามคุณ ได้แก่รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ อันพึงใจ.
  2. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  3. กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
  4. กามสุตฺต : นป. กามสูตร, เป็นชื่อพระสูตรที่หนึ่งแห่งอัฏฐกวรรคสุตตนิบาต
  5. กามเหตุ : ค. มีความใคร่เป็นเหตุ
  6. กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
  7. กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
  8. กามานุสารี : ค. ผู้ระลึกถึงกามเป็นนิตย์, ผู้ใฝ่ใจในความสุขทางกาม
  9. กามาราม : ค. ผู้มีกามเป็นที่มายินดี, ผู้มีความยินดีในกาม
  10. กามาวจรกิริยา : อิต. จิตที่เป็นกิริยาฝ่ายกามาวจร
  11. กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
  12. กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
  13. กายกมฺมญฺญตา : อิต. ความคล่องแห่งกาย, ความเป็นของควรแก่การงานแห่งกอง เวทนา, สัญญาและสังขาร
  14. กายคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางกาย.
  15. กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
  16. กายปริยนฺติก : ค. (เวทนา) ซึ่งมีกายเป็นที่สุด
  17. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  18. กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
  19. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  20. กายานุปสฺสนาสติปฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งไว้ ซึ่งสติกำหนดพิจารณาซึ่งกาย, การตั้งไว้ซึ่งสติเป็นเครื่องกำหนดพิจารณากาย, การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย.
  21. กายานุปสฺสี : ป. ผู้พิจารณาเห็นกายในกายเป็นนิตย์, ผู้ตั้งสติกำหนดกาย
  22. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  23. กายิก : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยกาย วิ. กาเยน กตํ กายิกํ. อันเป็นไปทางกาย วิ. กาเยน ปวตฺตํ กายิกํ. อันเป็นไปในกาย วิ. กาเย วตฺตตีติ กายิกํ. ณิก ปัจ.
  24. กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
  25. กายินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในกาย, ความเป็นใหญ่คือกาย, ความเป็นใหญ่ใน หน้าที่ของตนคือกาย?
  26. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  27. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  29. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  30. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  31. กาลีย : นป. ไม้จันทน์ชนิดหนึ่งที่เลื่อมเป็นมัน
  32. กาฬกณฺณิก : ค. ผู้เป็นคนกาลกรรณี, ผู้เป็นคนจัญไร
  33. กาฬกณฺณี : อิต. ความจัญไร, ความเป็นเสนียด
  34. กาฬกูฏ : (ปุ.) กาฬกูฏ ชื่อยอดแห่งทิวเขา หิมาลัย และเป็นชื่อของพิษงู, เม็ดดำ ๆ.
  35. กาฬเกส : ค. ผู้มีผมดำ, ผู้มีผมเป็นเงางาม
  36. กาฬติปุ : (นปุ.) ตะกั่ว, เหล็กวิลาศ (พจนาฯ เป็นเหล็กวิลาด), ดีบุก. กาฬปุพฺโพ, ติปฺ ปีณเน, อุ. ติปุ ศัพท์เดียวก็แปลเหมือนกันนี้.
  37. กิจฺจ : (นปุ.) กรรมอัน...พึงทำ, กรรมอัน...ย่อม ทำ. วิ. กตฺตพฺพนฺติ กิจฺจํ. กริยเตติ วา กิจฺจํ. กรฺ กรเณ, ริจฺโจ. ที่ใช้เป็นกิริยาเป็น กิริยาคุมพากย์ได้.
  38. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  39. กิจฺจยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งหน้าที่, ความเป็นหน้าที่. กิจฺจ+ยฺ และ อ อาคม ตา ปัจ.
  40. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  41. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  42. กิฏฐาท : ค. ผู้บริโภคข้าว, (สัตว์) ที่กินข้าวกล้าเป็นอาหาร
  43. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  44. กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
  45. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  46. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  47. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  48. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  49. กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
  50. กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | [1451-1500] | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1318 sec)