Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 3701-3750
  1. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  2. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  3. อมฺมณ : (นปุ.) อัมมณะชื่อมาตราตวง๑๑ โทณะเป็น ๑ อัมมณะ.อมฺคมเน, อมฺภฺสทฺเทวา, ยุ.
  4. อมฺม, อมฺมา : ๑. อ. แน่ะแม่, ข้าแต่แม่ ; เป็นคำร้องเรียกหญิงที่สนิทกัน เช่น แม่มหาจำเริญ ; ๒. อิต. แม่
  5. อมรตฺต : นป. ความเป็นคืออันไม่ตาย, อมฤตภาพ
  6. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  7. อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
  8. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  9. อมหคฺคต : ค. (จิต) ไม่ถึงความเป็นใหญ่
  10. อมฺหมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยหิน, เป็นวิการแห่งหิน.อสฺม+มยปัจ.แปลงสฺมเป็นมฺห.
  11. อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ; ๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
  12. อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
  13. อมามก : ค. ไม่ใช่ของเรา, ไม่เป็นของเรา
  14. อมุขร : ค. ไม่เป็นผู้ปากกล้า, ไม่เจรจาหยาบคาย
  15. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  16. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  17. อเมชฺฌ : (วิ.) ไม่สะอาด, ไม่หมดจด, ไม่เป็นมงคล.
  18. อโมสธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เลอะเลือน, ความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา
  19. อยน : (นปุ.) การไป, การถึง, ความเป็นไป, ทาง, หนทาง, ถนน.อยฺคติยํ, ยุ.ส. อยน.
  20. อยฺย : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่.
  21. อยฺยก : (ปุ.) ตา, ปู่. อรหฺปูชายํ, ณฺวุ, รหสฺสโย(แปลงรหเป็นย). อยฺคติมฺหิวา. ซ้อน ยฺ.
  22. อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
  23. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  24. อยาถาว : ค. อันไม่จริง, ไม่เป็นตามจริง
  25. อยิร : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่ง.รแปลว่าเป็นใหญ่, เป็นประธาน.อภิ+รแปลงภฺเป็นปฺ ปฺเป็นยฺ.เป็นเจ้า, เป็นใหญ่.อยฺย+อิรปัจ.ลบยฺสังโยค.
  26. อยุตฺตอยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย.คือคนที่เก็บของจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  27. อยุตฺต อยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย. คือคนที่เก็บของ จากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
  28. อโยปฏล : นป. หลังคาหรือเพดานทำเป็นแผ่นเหล็ก (ในนรก)
  29. อโยพฺพน : ค. ไม่เป็นหนุ่มสาว
  30. อรญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ในป่า, การถืออยู่ในป่าเป็นวัตร
  31. อรญฺญวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าโดยปกติ, ผู้อยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีปกติอยู่ในป่า.วิ.ดูธมฺมจารีเทียบ.ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติวิ.อรญฺเญวาโสสีโลอสฺสาติอรญฺญวาสี.อีปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  32. อรญฺญานี : (อิต.) ป่าไม้ใหญ่, ป่าใหญ่, ดง.เมื่อลงอีอิต. ให้เอาอที่ญเป็นอาน.
  33. อรญฺญิก : (วิ.) ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นวัตร.วิ.อรญฺเญวสนํสีลมสฺ-สาติอรญฺญิโก.อรญฺเญวาวสนสีโลอรญฺญิโก.ผู้อยู่ในวิหารอันตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญปติฏฺฐวิหาเรวสตีติอรญฺญิโก.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญอตฺถีติอรญฺญิโก อรญฺเญภโววาอรญฺญิโก.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญิโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  34. อรหตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระอรหันต์, คุณเครื่องเป็นพระอรหันต์, ความเป็นพระอร-หันต์, อรหัตผล.อรหนฺต+ตฺตปัจ.ภาวตัทลบนฺต.วิ.อรหโตภาโวอรหตฺตํ.
  35. อรหตฺตคหณ : นป. การถือเอาความเป็นพระอรหันต์, การบรรลุความเป็นอรหันต์
  36. อรหตฺตผล : นป. อรหัตผล, ผล คือ การสำเร็จเป็นพระอรหันต์
  37. อรหตฺตมคฺค : ป. อรหัตมรรค, ทางดำเนินไปสู่ความเป็นพระอรหันต์
  38. อรหตฺตมคฺคญาณาสิ : (ปุ.) ดาบคือญาณอันสัม-ปยุตแล้วด้วยมรรคอันเป็นไปในพระอรหัต.
  39. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  40. อรหนฺตี : (อิต.) หญิงผู้เป็นพระอรหันต์.พระอรหันต์หญิง
  41. อรินฺทม : (วิ.) ผู้ข่มข้าศึกวิ.อรึทมตีติอรินฺท-โม.อริปุพฺโพ, ทมฺทมเน, นุอาคโม.แปลงนุเป็นนิคฺคหิตแล้วแปลงเป็นนฺ.
  42. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  43. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  44. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  45. อริยมคฺค : (ปุ.) ทางอันประเสริฐ, ทางอันยังผู้ปฏิบัติให้เป็นพระอริยบุคคล, ทางของพระอริยะ.
  46. อริยวสปฏิปทาทิ : (วิ.) มีปฏิปทาอันเป็นไปตามซึ่งวงศ์แห่งพระอริยะเป็นต้น.
  47. อริยสฆอริยสงฺฆ : (ปุ.) หมู่แห่งพระอริยะ.วิ.อริยานํสงฺโฆสมูโหอริยสงฺโฆ.สงฆ์ผู้เป็นอริยะวิ. อริโยสงฺโฆอริยสงฺโฆ.
  48. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  49. อริยสาวก : (ปุ.) สาวกผู้ประเสริฐ, สาวกผู้เลิศ, สาวกผู้เป็นอริยะ, พระอริยสาวก.
  50. อริยสาวิกา : อิต. อริยสาวิกา, สาวกที่เป็นหญิงของพระอริยะ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | [3701-3750] | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.2133 sec)