Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 3951-4000
  1. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  2. อารมฺภกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวเริ่มต้น, คำกล่าวเริ่มต้น, คำเริ่มต้น, คำปรารภ, คำนำ.ส.อารมฺภกถา.
  3. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  4. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  5. อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
  6. อาราม : (ปุ.) อารมณ์เป็นที่มายินดี, ประเทศเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่รื่นรมย์, อุทยาน, สวน, อาราม, วัด.วิ. อาค-นฺตฺวารมนฺติเอตฺถาติอาราโม.อาปุพฺโพ, รมุรมเณ, โณ.ส.อาราม.
  7. อารามิก : (วิ.) ผู้อยู่ในวัด, ผู้อาศัยวัดเป็นอยู่.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  8. อารามิกอารามิกชน : (ปุ.) คนอยู่ในวัด, คนอา-ศัยวัดเป็นอยู่, คนอาศัยวัด, คนงานประจำวัด, คนวัด, อารามิกชน.
  9. อาริสฺส : ป. ความเป็นฤษี, ความเป็นนักบวช
  10. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  11. อารุปฺป : (นปุ.) อรูปฌาน. น+รูป+ณฺย ปัจ. แปลงนเป็นอทีฆะเป็นอารัสสะอูเป็นอุแปลงปฺยเป็นปฺป.
  12. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  13. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  14. อาลกาอาลกมนฺทา : (อิต.) อาลกมันทาชื่อเมืองกุเวร.วิ.อลํวิภูสนํกโรตีติอลกา.อลกาเอวอาลกา. อาลกาเอว โมทกรณโตอาลกมนฺทาเป็นอาลกมณฺฑาก็มี.
  15. อาลย : (วิ.) พัวพัน, ห่วงใย, ลวงอุ.ปพฺพชิตาลยลวงว่าเป็นบรรพชิต.ส. อาลย.
  16. อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
  17. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  18. อาลุมฺปการ : ค. ปั้นเป็นคำ, แบ่งเป็นคำ
  19. อาโลกกร, - กรณ : ค., นป. ทำแสงสว่าง, ผู้นำแสงสว่างมา
  20. อาโลกกสิณ : (นปุ.) การเพ่งแสงสว่าง, อาโลกกสิณ (การบริกรรมโดยการเพ่ง แสงสว่างเป็นอารมณ์).
  21. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  22. อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
  23. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  24. อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
  25. อาวาห อาวาหมงคล : (นปุ.) มงคลที่เป็นที่ นำมา, การนำมา, การแต่งงาน, การสมรส, อาวาหะ (การนำหญิงมาอยู่บ้านฝ่ายชาย). อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โณ. ส. อาวาห.
  26. อาวุโส : (อัพ. นิบาต) แน่ะท่านผู้มีอายุ, แน่ะ ผู้มีอายุ, ดูกรท่านผู้มีอายุ, ดูก่อนท่านผู้มี อายุ, ท่านผู้มีอายุ, คุณ. เป็นคำสำหรับ นักบวชเรียกนักบวช ผู้มีพรรษาอ่อนกว่า หรือสำหรับนักบวชพูดกับชาวบ้านก็ได้ แปลว่า จ๊ะ เจริญพร ขอเจริญพร. แปลว่า ขอรับ. ก็ได้. พูดกับผู้ชายแปลว่า พ่อ พูดกับผู้หญิง แปลว่า แม่. ส. อายุษมตฺ.
  27. อาเวณิก, - ณิย : ค. พิเศษ, เฉพาะ, คนละส่วน, เป็นอิสระ, เป็นแผนกๆ
  28. อาเวธ : ค. ถูกแทง, เป็นรู, เป็นแผล
  29. อาสน : (วิ.) เป็นที่นั่ง, เป็นที่อันเขานั่ง.
  30. อาสนสาลา : (อิต.) ศาลาเป็นที่นั่ง, ศาลา สำหรับนั่ง, โรงฉัน, หอฉัน.
  31. อาสย : (วิ.) เป็นที่มานอน, เป็นที่อาศัย.
  32. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  33. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  34. อาสวกฺขยญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเหตุยัง อาสวะให้สิ้นไป, ความรู้เป็นเหตุสิ้น อาสวะ, ความรู้ในความสิ้นไปแห่งอาสวะ.
  35. อาสา : (อิต.) ชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาสา วุจฺจติ ตณฺหา. ไตร ๒๙/๑๑๘. ความหวัง, ความปรารถนา. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็นอา). ส. อาศา
  36. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  37. อาสิ : ก. ได้เป็นแล้ว
  38. อาสุ : ก. ได้เป็นแล้ว
  39. อาหจฺจปาท : (ปุ.) เตียงมีขาจรดแม่แคร่. วิ. อฏนิยํ อาหจฺโจ ยสฺส ปาโท อาหจฺจปาโท. อาหจฺจ วา ปาโท ติฏฺฐติ ยสฺเสติ อาหจฺจปา โท. อาหจฺจ ของ วิ. หลัง เป็นศัพท์ กิริยากิตก์ ตูนาทิปัจ.
  40. อาหรณก : ค. ผู้นำมา, ผู้สื่อข่าว
  41. อาหริม : ค. อันนำมา, เป็นเสน่ห์, ล่อให้หลง
  42. อาฬน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำมาเผา, ป่าช้า. วิ. อาเนตฺวาทหียเตอเตฺรติ อาฬนํ. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ, หฺโลโป.
  43. อาฬหณ อาฬหน : (นปุ.) หลักเป็นที่นำนักโทษ ประหารมาฆ่า, ที่ประหารชีวิต. อาปุพฺโพ, ทหฺ หึสายํ, ยุ.
  44. อาฬหณ อาฬหน อาฬาหณ อาฬาหน : (นปุ.) ป่าช้า วิ. อาคนฺตวา ทหนฺติ อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. อาปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, ทสฺส โฬ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ. อาเนตฺวา ทหียเต อเตฺรติ อาฬหณํ อาฬหนํ วา. (ที่เป็นที่นำศพมาเผา).
  45. อิงฺขติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  46. อิงฺคติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  47. อิจฺจ : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความไป, ฯลฯ. อิ คติยํ, ริจฺโจ.
  48. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  49. อิจฺฉาปกต : ค. ผู้มีความต้องการเป็นปกติ
  50. อิญฺชิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งความไหว, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | [3951-4000] | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1371 sec)